25
มวลรวมหยาบ COARSE AGGREGATE นายธวัชชัย คุณประคัลภ์ วิศวกรโยธาชานาญการพิเศษ

มวลรวมหยาบ COARSE AGGREGATEresearch.rid.go.th/download_ss/Testing and analysis... · •ใช้ตัวอย่างมวลรวมหยาบ (Oven dry)

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

มวลรวมหยาบ COARSE AGGREGATE

นายธวชัชยั คณุประคลัภ์

วิศวกรโยธาช านาญการพิเศษ

ส่วนประกอบของคอนกรีต

• ปูนซีเมนต์ (Portland Cement)

• มวลรวมละเอียด (Fine Aggregate)

• มวลรวมหยาบ (Coarse Aggregate)

• น า้ (Water)

• อากาศ (Air)

• อื่น ๆ (Others)

ประเภทของวสัดุผสม (AGGREGATE)

• มวลรวมละเอียด (Fine Aggregate)

คือวสัดผุสมท่ีมีขนาดเลก็กวา่ 4.76 มิลลเิมตร หรือสามารถลอดผา่นตะแกรงเบอร์ 4

ทัง้นีต้้องไมเ่ลก็กวา่ 0.074 มิลลเิมตร หรือสามารถลอดผา่นตะแกรงเบอร์ 200

• มวลรวมหยาบ (Coarse Aggregate)

คือวสัดผุสมท่ีมีขนาดใหญ่กว่า 4.76 มิลลิเมตร หรือไม่สามารถลอดผ่านตะแกรงเบอร์

4

ความหมายของตะแกรงต่าง ๆ

• ตะแกรงเบอร์ 4 หมายความวา่ ในช่วงความยาว 1 นิว้ จะมีช่องจ านวน 4 ช่อง ดงันัน้ในพืน้ที่ 1 ตารางนิว้ ก็จะมีช่องจ านวน 16 ช่อง

• ตะแกรง ½” หมายความวา่ ในช่วงความยาว 1 นิว้ จะมีช่องจ านวน 2 ช่อง ดงันัน้ในพืน้ที่ 1 ตารางนิว้ ก็จะมีช่องจ านวน 4 ช่อง

1”

1”

#4 #8

#16 #30

#100

#50

3/8” 1/2” 3/4” 1”

1 1/2” 2” 3”

PAN

มวลรวมหยาบ

มวลรวมละเอียด

ขนาดของตะแกรงต่าง ๆ

มวลรวม

คุณสมบัตขิองมวลรวมหยาบ

• ความแข็งแกร่ง - ความต้านทานแรงอดั (fc’) ของหินมีคา่ประมาณ 700-3,500 กก./ตร.ซม.

โดยมากใช้หินประเภท Limestone ซึง่มีคา่ fc’ ประมาณ 1,600 กก./ตร.ซม.

• ความต้านทานการสึกกร่อน - ทัว่ไปงานของกรมชลประทานให้มีค่าได้ไม่มากกว่าร้อยละ 50 โดยน า้หนกั

• ความอยู่ตวั - ทดสอบโดยวิธี Sulfate test ต้องมีคา่ไมม่ากกวา่ร้อยละ 12 โดยน า้หนกั

• ความคงทนทางเคมี- เราจะใช้ประเภท Non-Active Aggregate

คุณสมบัตขิองมวลรวมหยาบ (ต่อ) • ลักษณะรูปร่างและผิวของมวลรวม - ควรมีลกัษณะเป็นแง่ และมีเหลี่ยมคม

• ความถ่วงจ าเพาะ - เป็นตวัชีถ้ึงความแข็งแกร่งของมวลรวม ซึ่งหากมีค่าสูงก็จะมีความแข็งแกร่ง

• การดดูซมึและความชืน้ที่ผิว -ไม่เกินร้อยละ 3 โดยน า้หนกั

• ความสะอาด

• ขนาดโตสุดของมวลรวม (Maximum Size)

• ขนาดคละ (Gradation)

การทดสอบคุณภาพ การเลือกตัวอย่าง (Sampling) – ตวัอย่างวสัดทุี่จะน าไปทดสอบควรเป็นตวัแทนของวสัดทุัง้หมดที่จะน าไปใช้ผสมคอนกรีตจริง

วธีิการเลือกตัวอย่างเพื่อทดสอบคุณภาพ

• วิธีการใช้เคร่ืองแยกแบง่สว่น (Sample Splitter)

• วิธีการแบง่สี่ (Quartering)

การทดสอบในวนันี ้

• ความถ่วงจ าเพาะของมวลรวมหยาบ - เพ่ือน าไปใช้ในการค านวณหาสดัส่วนการผสมของหินและทรายในคอนกรีต โดยใช้เป็นตวัเปลี่ยนน า้หนักที่ก าหนดให้

ของวสัดผุสมเป็นปริมาตรเนือ้แท้ หรือเปลี่ยนปริมาตรเนือ้แท้ไปเป็นน า้หนกัเพ่ือหา

ปริมาณวสัดสุ าหรับการผสมนัน้

• การดูดซึมน า้ของมวลรวมหยาบ - เพ่ือน าไปใช้ในการปรับแก้ปริมาณน า้ใน

สว่นผสมคอนกรีต ควบคมุให้สว่นผสมคงท่ีสม ่าเสมอ

การทดสอบในวนันี ้(ต่อ)

• โมดูลัสความละเอียด (Fineness Modulus , F.M.) เป็นตวัเลขดชันีที่แสดงถึง

ความละเอียดหรือความหยาบของวสัด ุโดยที่ยิ่งมีคา่มากก็จะยิ่งหยาบ

• ขนาดโตสุดของวัสดุผสม (Nominal Maximum Size of Aggregate) - เพ่ือน าไปใช้ประกอบการพิจารณาการใช้งานตามเงื่อนไขการออกแบบ -ก่อสร้าง

โดยทั่วไปขนาดโตสุดของหินจะต้องไม่มากกว่า 1/5 ของด้านในที่แคบที่สุดของ

แบบหล่อ หรือต้องไม่โตกว่า ¾ ของระยะช่องว่างระหว่างเหล็กเสริมแต่ละเส้นหรือแตล่ะมดั

การทดสอบในวนันี ้(ต่อ)

• หาการสญูหายไปของวสัด ุจากการสกึกร่อน โดยใช้ Los Angeles Machine เพื่อพิจารณาความทนทานของวสัด ุจากการสกึกร่อน

• เพื่อให้ทราบถึงคา่ UNIT WEIGHT และ VOIDS ของมวลรวมที่ต้องการ

• คา่ UNIT WEIGHT และ VOIDS ไปพิจารณาในการค านวณหาปริมาณมวลรวมหยาบท่ีต้องใช้ในการออกแบบสว่นผสมคอนกรีต

• หาคา่ความต้านทานการสกึกร่อนโดยกรดเกลือ

การทดสอบมวลรวมหยาบ • การหาค่าความถ่วงจ าเพาะ (Specific Gravity)

• การหาค่าความดดูซมึ (Absorption)

• การหาขนาดคละ (Sieve Analysis)

• Fineness Modulus

• Nominal Maximum Size of Aggregate

• การหาค่าหน่วยน า้หนัก (Unit Weight)

• การหาค่าความต้านทานการสกึกร่อน (Los Angeles Abrasion)

• การหาค่าความต้านทานซัลเฟต Q&A

การหาค่าความถ่วงจ าเพาะ • แช่ตวัอยา่งมวลรวมหยาบ (ขนาดใหญ่กวา่ตะแกรงเบอร์ 4 )ในน า้ 24 ชัว่โมง (submerge 1 นิว้)

• ท าให้อยูใ่นสภาวะอิ่มตวัผิวหน้าแห้ง (Saturated Surface-dry) • ชัง่น า้หนกั (ในอากาศ) • ชัง่น า้หนกั (ในน า้) • อบแห้ง (Oven dry) • ชัง่น า้หนกั (ในอากาศ)

• ค านวณ

Back

การหาค่าความดูดซึม

• แช่ตวัอยา่งมวลรวมหยาบ (ขนาดใหญ่กวา่ตะแกรงเบอร์ 4 )ในน า้ 24 ชัว่โมง (submerge 1 นิว้)

• ท าให้อยูใ่นสภาวะอิ่มตวัผิวหน้าแห้ง (Saturated Surface-dry)

• ชัง่น า้หนกั (ในอากาศ)

• อบแห้ง (Oven dry)

• ชัง่น า้หนกั (ในอากาศ)

• ค านวณ

การดูดซึมและความช้ืนทีผ่วิ

Oven dry (D)

Air dry (A)

Saturated Surface-dry (SSD)

Damp or Wet (W)

ความชืน้ทัง้หมด

ความสามารถในการดดูซมึ ความชืน้ที่ผิว

การดดูซมึสทุธิ

Back

การหาขนาดคละ • ใช้ตวัอยา่งมวลรวมหยาบ (Oven dry) ประมาณ 10 – 14 kg.

• น าตวัอยา่งใสใ่นเคร่ืองสัน่

• ในเคร่ืองสัน่ จะใสต่ะแกรงท่ีมีขนาดใหญ่ลดหลัน่ไปตามล าดบั

• เดินเคร่ืองประมาณ 10 นาที

• น าตวัอยา่งที่ค้างแตล่ะตะแกรงมาชัง่น า้หนกั

• ค านวณ

• Fineness Modulus

• Nominal Maximum Size of Aggregate

Back

การหาค่าความต้านทานการสึกกร่อน

• ใช้ตวัอยา่งมวลรวมหยาบ (Oven dry) • พิจารณาคา่ที่ได้จาก (Sieve Analysis Test) เพื่อเลือก Case ในการทดสอบ • Case 1 • Case 2

• น าวสัดเุข้าเคร่ือง Los Angeles Machine แล้วเดินเคร่ือง • น าวสัดจุากเคร่ือง Los Angeles Machine มาร่อนด้วยตะแกรงเบอร์ 12 น าสว่นค้างมาชัง่น า้หนกั • ค านวณ

Back

CASE 1

Sieve Size เกณฑ์ก าหนดและปริมาณทีต้่องใช้ (g.)

ผ่านตะแกรง ค้างตะแกรง A (12) B (11) C (8) D (6)

1 ½” 1” 1,250±25 - - -

1” ¾” 1,250±25 - - -

¾” ½” 1,250±10 2,500±10 - -

½” 3/8” 1,250±10 2,500±10 - -

3/8” ¼” - - 2,500±10 -

¼” No.4 - - 2,500±10 -

No.4 No.8 - - - 5,000±10

รวม 5,000±10 5,000±10 5,000±10 5,000±10

Back

CASE 2 Sieve Size เกณฑ์ก าหนดและปริมาณทีต้่องใช้ (g.)

ผ่านตะแกรง ค้างตะแกรง 1 (12) 2 (12) 3 (12)

3” 2 ½” 2,500±50 - -

2 ½” 2” 2,500±50 - -

2” 1 ½” 5,000±50 5,000±50 -

1 ½” 1” - 5,000±25 5,000±25

1” ¾” - - 5,000±25

รวม 10,000±100 10,000±75 10,000±50

Back

การหาค่าหน่วยน า้หนัก • ใช้ตวัอยา่งมวลรวมหยาบ (Oven dry) • พิจารณาภาชนะที่ใช้ในการทดสอบจากคา่ Nominal Maximum Size of Aggregate • เลือกวิธีการทดสอบ

• แบบหลวม (Shoveling Procedure) • แบบแน่น

• (Roding Procedure) • (Jigging Procedure)

• ชัง่น า้หนกัภาชนะ (รวมกระจกปิด)

• ชัง่น า้หนกัภาชนะที่ใสน่ า้จนเตม็ (รวมกระจกปิด)

• ค านวณ

Back

การหาค่าความต้านทานซัลเฟต

• ใช้ตวัอยา่งมวลรวมหยาบ (Oven dry)

• พิจารณาคา่ที่ได้จาก (Sieve Analysis Test) เพ่ือเลือก Case ในการทดสอบ

• แช่วสัดใุนสารละลายซลัเฟต 16 – 18 ชัว่โมง Submerge ½” (แยกแช่ และปิดฝากนัการระเหย)

• น าไปอบ 4 – 5 ชัว่โมง แล้วทิง้ไว้ให้เยน็ตวัลง

• น าไปแช่สารละลายซลัเฟตอีก (รวมทัง้หมด 5 loop)

• ล้างตวัอยา่งให้สะอาด แล้วน าไปอบให้แห้ง

• ชัง่น า้หนกั

• ค านวณ

การเตรียมตวัอย่าง

กรณีท่ี ขนาดของวสัดุท่ีตอ้งการทดสอบ ปริมาณท่ีใช ้

(g.) ผา่นตะแกรงเบอร์ คา้งตะแกรงเบอร์

1 3/8” #4 300±5

2

¾” – 3/8” ประกอบดว้ย 1,000±10

¾” ½” 670±10

½” 3/8” 330±5

การเตรียมตวัอย่าง (ต่อ)

กรณีท่ี ขนาดของวสัดุท่ีตอ้งการทดสอบ ปริมาณท่ีใช ้

(g.) ผา่นตะแกรงเบอร์ คา้งตะแกรงเบอร์

3 1 ½” – ¾” ประกอบดว้ย 1,500±50

1 ½” 1” 1,000±50

1” ¾” 500±30

4

2 ½” – 1 ½” ประกอบดว้ย 5,000±300

2 ½” 2” 3,000±300

2” 1 ½” 2,000±200

Back

Q & A

ขอบคุณครับ Mobile Phone: 09 7209 9027

E-mail: [email protected]