27
Climate Vichate Tawatnuntachai Analysis for Design Thai 10 September 2004

Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

Climate

Vichate Tawatnuntachai

Analysisfor

Design

Thai

10 September 2004

Page 2: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

การนําเสนอ

บทที ่1 บทนํา

บทที ่2 ข้อมูล และการวเิคราะห์สภาพภูมิอากาศแต่ละสถานี

บทที ่3 การวเิคราะห์ แบ่งกลุ่มสภาพภูมิอากาศประเทศไทย

บทที ่4 การวเิคราะห์แบ่งกลุ่ม แนวทางการออกแบบตามสภาพภูมิอากาศประเทศไทย

นิยามศัพท์ทีเ่กีย่วข้อง

Page 3: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

ความสาํคัญและที่มาของปัญหา

เมืองมีการขยาย และสิ่งก่อสร้างทีเ่พิม่ขึน้ เป็นผลทาํเกิดมวลความร้อนเพิม่ขึน้ ทาํให้มีการใช้พลงังานเพิม่ขึน้ สถาปัตยกรรมที่ไม่เหมาะสมกบัสภาพภูมิอากาศ ล้วนเป็นผลทาํให้เกดิการใช้พลงังานอย่างไม่เหมาะสม โดยมกัแก้ทีป่ลายเหตุ ด้วยการเพิม่กาํลงัของเครื่องปรับอากาศเข้าไปในอาคารเพือ่ให้ได้ความสบาย

ที่ถกูต้องแล้วสภาพภูมิอากาศทีต่่างกนัควรมีลกัษณะสถาปัตยกรรมทีแ่ตกต่างกนั เช่น บริเวณอากาศหนาว ต้องการความอบอุ่นภายในอาคาร อากาศร้อน-แห้ง ต้องควบคมุความร้อนในช่วงกลางวัน และ กกัเกบ็ความร้อนจากกลางวันมาใช้ในช่วงกลางคนื อากาศร้อน-ชื้น ต้องลดความชื้นภายในอาคารและนําอากาศเยน็เข้าแทนทีอ่ากาศร้อน

การศึกษาสภาพภูมิอากาศก่อนทาํการออกแบบ ช่วยให้เกดิการออกแบบทีส่อดคล้องกบัสภาพภูมิอากาศนั้นๆ และนําประโยชน์จากธรรมชาติ มาใช้ให้เกดิประโยชน์สูงสุดในการออกแบบ จะนําไปสู่การประหยดัพลงังานให้แก่ประเทศและโลกต่อไป

การวิจัยนีเ้ป็นการวิเคราะห์ข้อมลูสภาพภูมิอากาศประเทศไทย เพื่อศึกษาสภาพภูมิอากาศทีม่ีความแตกต่างกนัในแต่ละสถานี เปรียบเทยีบสภาพภูมิอากาศในแต่ละสถานี นําผลไปวิเคราะห์สภาพภูมิอากาศตามวิธีการของ

Carl Mahony และเสนอแนะแนวทางการออกแบบที่เหมาะสมต่อสภาพภูมิอากาศ ให้ผู้ออกแบบนําผลไปใช้โดยง่าย

Page 4: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

เป็นข้อมลูที่สามารถนาํไปใช้ประกอบการออกแบบได้โดยง่าย

ช่วยให้นักออกแบบคาํนึงถึงการออกแบบสถาปัตยกรรม และเมืองที่สอดคล้องกับสภาพภมูิอากาศ และสร้างสภาวะน่าสบายให้กับอาคาร

เป็นฐานข้อมลูเพื่อใช้ในการทาํวิจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับสภาพภูมิอากาศต่อไป

วตัถปุระสงค์โครงการ

สมมตุิฐานการวิจัย

ความแตกต่างของสภาพภมูิอากาศ ย่อมส่งผลการออกแบบสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมเมืองและชุมชน ที่แตกต่าง ทั้งในเรื่องรูปแบบ ขนาด ทิศทางการวางอาคาร ตาํแหน่งอาคาร ขนาด ช่องเปิด วสัดผุนัง วสัดหุลงัคา การเลือกพิจารณาในลกัษณะที่เหมาะสมกับสภาพภมูิอากาศ นาํไปสู่การสภาวะน่าสบาย และการประหยดัพลงังานต่อไป

Page 5: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

นิยามศัพท์ทีเ่กีย่วข้อง

อณุหภูมิ(Temperature)

ความชื้น(Humidity)

หน่วย การวดัอุณหภมูิ พิสัยของอุณหภมูิ

Tmax -Tmin(ในรอบวนั)

ค่าความร้อนของอากาศ

oC/ oF/K

ไอนํา้ที่แทรกซึมอยู่ในอากาศ

จุดนํา้ค้าง(Dew Point)

จุดของอุณหภูมิ ที่ไอนํา้อิ่มตวั

จนกลายเป็นหยดนํา้

Tตํา่ Tสูง

ความชืน้สัมพัทธ์(Relative Humidity)

. AH นน.ของความชืน้ . X 100 %SH นน.ความชืน้ณงจุดอิ่มตวั

Page 6: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

นิยามศัพท์ทีเ่กีย่วข้อง

ลม(Wind)

ปัจจยัทีท่าํให้เกดิลม

ความแตกต่างของอณุหภูมิ

ความแตกต่างของความกดอากาศ

Page 7: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

นิยามศัพท์ทีเ่กีย่วข้อง

ลม(Wind)

หยาดนํ้าฟ้า(pecipitation)

Page 8: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่2 ข้อมูลและการวเิคราะห์

สภาพภูมิอากาศในแต่ละสถานี การพจิารณาเลอืกลกัษณะข้อมูลทีน่ํามาใช้ในการวจิยั

ในแต่ละสถานีจะประกอบด้วย

ตารางข้อมูลสภาพภูมิอากาศคาบ 10 ปี 2534-2043(1991-2000) …Climate Data แผนภูมิสภาพภูมิอากาศ ( อณุหภูมิ ความชื้นสัมพทัธ์ และปริมาณนํ้าฝน)…Climate Plot ตารางความสัมพนัธ์อณุหภูมิเฉลีย่รายชั่วโมง… Annual temperature pattern แผนภูมิสรุปทศิทางลม … Wind Direction แผนภูมิไซโคเมตริก อณุหภูมิ ความชื้น ขอบเขตสบาย และเทคนิคทีช่่วยในการปรับสภาพภูมิอากาศControl Potential Zone วิเคราะห์สู่การออกแบบด้วยวิธีการของ Carl Mahony ตารางการวิเคราะห์สภาพภูมิอากาศ.... Climate Analysis ตารางแนวทางการออกแบบตามสภาพภูมิอากาศ... Design recommendations ตารางแสดงสภาพอณุหภูมิทีอ่ยู่สูงหรือตํ่ากว่าขอบเขตสบาย.... Outdoor under and overheated Kelvin-hours

(re: comfort limits shown)

ใช้ข้อมลูเฉลี่ยรายเดือนรอบ 10 ปี ตั้งแต่ ปี 2534-2543 ข้อมูลและการวเิคราะห์สภาพภูมอิากาศแต่ละสถานี

Page 9: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่2

Page 10: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่2

Page 11: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่2

Page 12: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่2

Page 13: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่ 3

การวิเคราะห์แบ่งกลุ่มสภาพภูมิอากาศประเทศไทย 3.1 อณุหภูมิ

- ตารางสรุปข้อมลูภมูิอากาศประเทศไทย เฉลี่ยคาบ 10 ปี 2534 – 2543

- แผนภมูิอุณหภมูิ(Temperature)เฉลี่ยคาบ 10 ปี

- แผนภาพอุณหภมูิ(Temperature)เฉลี่ยคาบ 10 ปี

- ตารางสรุปค่าพิสัย รายเดือน ประเทศไทย เฉลี่ยคาบ 10 ปี

3.2 ความชื้นสัมพทัธ์

- แผนภมูิความชืน้สัมพัทธ์(Relative Humidity)เฉลี่ยคาบ 10 ปี

- แผนภาพความชืน้สัมพัทธ์(Relative Humidity)เฉลี่ยคาบ 10 ปี

3.3 ลม

- ตารางสรุปทิศทางการเคลื่อนที่ของลม และความเร็วลมเฉลี่ยรายเดือนประเทศไทย คาบ 10 ปี

3.4 หยาดนํ้าฝ้า

- แผนภมูิปริมาณนํา้ฝน(Rain Fall)เฉลี่ยคาบ 10 ปี

- แผนภาพปริมาณนํา้ฝน(Rain Fall)เฉลี่ยคาบ 10 ปี

3.5 สรุปสภาพภูมิอากาศประเทศไทย

Page 14: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่ 3 การวิเคราะห์แบ่งกลุ่มสภาพภูมิอากาศประเทศไทย

แผนภาพอุณหภูมิ(Temperature)เฉลี่ยคาบ 10 ปี

Page 15: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่ 3 การวิเคราะห์แบ่งกลุ่มสภาพภูมิอากาศประเทศไทย

แผนภาพความชืน้สัมพัทธ์(RH)เฉลี่ยคาบ 10 ปี

Page 16: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่ 3 การวิเคราะห์แบ่งกลุ่มสภาพภูมิอากาศประเทศไทย

ปริมาณนํา้ฝน(Rainfall)เฉลี่ยคาบ 10 ปี

Page 17: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่ 3 การวิเคราะห์แบ่งกลุ่มสภาพภูมิอากาศประเทศไทย

สรุปสภาพภูมิอากาศประเทศไทย

ประเทศไทยตัง้อยู่ในคาบสมทุรอินโดจีน อยู่ในเขตร้อน(Tropical Zone) ระหว่างละติจูด (Lattitude) 5 องศาเหนือทีจ่งัหวดัยะลา ถึง 21 องศาเหนือทีจ่งัหวดัเชียงราย

ลองติจูด(Longitude) 106 องศาตะวนัออก ตะวนัตกอยู่ทีล่องติจูด 97 องศาตะวนัออก

ฤดูกาลและสภาพดนิฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

1. ฤดูหนาว พฤศจิกายน - กุมภาพันธ มีมรสุมทางดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (มาจากประเทศจีน) ในระหวางชวงนี้อากาศคอนขางเย็นและแหง ความชื้นสัมพัทธอากาศนอย กวาฤดูอื่น

2. ฤดูร้อน มีนาคม - เมษายน มีกระแสลมพดัจากทะเลจีนใตเ้ขา้สู่อ่าวไทย และประเทศไทยทางดา้นทิศใต ้

อากาศโดยทัว่ไปร้อนและแหง้แลง้ จะร้อนสดุในเดือนเมษายน โดยเฉพาะภาคกลางและภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ

3. ฤดูฝน พฤษภาคม - ตลุาคม มีลมมรสมุตะวนัตกเฉียงใตอ้่าวเบงกอล ทะเลอนัดามนัและมหาสมทุรอินเดีย พดั

เอาเมฆฝนเขา้สู่ประเทศไทยทําใหม้ีฝนตกทัว่ไปในทกุภาคของประเทศ อากาศช่วงนีม้ีความชืน้สมัพทัธ์สูง โดยทัว่ไปจะตกมาก

สดุเดือนกนัยายน ในชวงเดือนตุลาคม จะเปนชวงเปลี่ยนมรสุม จากมรสมุตะวันตกเฉียงเหนือ เปนมรสุม

ตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะนี้เปนระยะที่ลมเปลี่ยนจากตะวันตกเฉียงใต เปนตะวันออกเฉียงเหนือ ฝนจะเริ่มนอยตอนปลายเดือนโดยจะเริ่มจากภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือกอน

Page 18: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่ 3 การวิเคราะห์แบ่งกลุ่มสภาพภูมิอากาศประเทศไทย

สรุปสภาพภูมิอากาศประเทศไทย

อุณหภมูิของประเทศไทย

อณุหภูมิโดยเฉลีย่ของประเทศไทยตลอดปีประมาณ 27 ๐c อณุหภูมิเฉลีย่สูงสดุโดยทัว่ไป มีค่าระหว่าง 33.0 - 38.0 ๐c และ เมษายนเป็นเดือนทีร่้อนทีส่ดุ

อุณหภูมิเฉลี่ยตํา่สุดโดยทั่วไป มีค่าระหว่าง 17.0 - 25.0 ๐cพิสยัอณุหภูมิ ประมาณ 4 –20 ๐c สภาพลมของประเทศไทย1. ช่วงลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (พฤศจกิายน ถงึ กุมภาพันธ์)

บริเวณตั้งแตกนอาวไทยขึ้นไป ลมจะมาจากทิศเหนือ หรือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาคใต ้ลมจะมาจากทิศตะวนัออกเฉียงเหนือ หรือ ตะวนัออก

2. ช่วงเปลี่ยนมรสุม (มีนาคม ถงึ เมษายน) ซึง่เป็นฤดูร้อน

ส่วนใหญ่ลมจะมาจากทิศใต ้ในตอนบ่ายและเย็น ส่วนในตอนเชา้ลมจะแปรปรวน

ภาคใตล้มมาจากทางทิศใต ้และตะวนัออกเฉียงใต้

3. ช่วงมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (พฤษภาคม ถงึ กันยายน)

ลมประจําจะเป็นทิศตะวนัตกเฉียงใต ้

4. ช่วงหลังมรสุม (ตุลาคม)

เดือนทีม่ีลมมรสมุ เปลีย่นจากทิศตะวนัตกเฉียงใต ้เป็นตะวนัออกเฉียงเหนือ

Page 19: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่ 3 การวิเคราะห์แบ่งกลุ่มสภาพภูมิอากาศประเทศไทย

สรุปสภาพภูมิอากาศประเทศไทย

ปริมาณฝนของประเทศไทย

ฤดหูนาว ตอนบนของประเทศไทยอากาศค่อนข้างแห้งแล้ง ไม่ค่อยมีฝนตก

ฤดรู้อนจะมีฝนตกประปราย และจะเริ่มมีฝนมากขึน้ตอนกลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตลุาคม มาก

สุดเดือนกนัยายน โดยที่เดือนนีจ้ะมีพายดุีเปรชชั่น(Depression) จากทะเลจีนใต้

ภาคใต้จะมีฝนเป็น 2 ช่วง

ช่วงแรก มรสุมตะวนัตกเฉียงใต้ จากเดือนพฤษภาคมถึงตลุาคม ปรากฏชัดฝั่งทะเลตะวนัตกของภาค

ช่วงสอง มรสุมตะวนัออกเฉียงเหนือ เดือนพฤศจิกายนถึงกมุภาพันธ์ มีมากทางฝั่งตะวนัออกของภาค

ฝนในประเทศไทยเฉลี่ยประมาณ 1,564 มิลลิเมตร หรือประมาณ 61 นิว้

จาํนวนวนัที่ฝนตกอยู่ในช่วง 93-226 วนั/ปี

Page 20: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่2

จ.สงขลา

(ภาคใต้)

อ.โกสุมพสิัย

(ภาค ต/น)

กรุงเทพ

(ภาคกลาง)

จ.เชียงใหม่

(ภาคเหนือ)

พทัยา

(ภาคตะวันออก)

Page 21: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่2

จ.สงขลา

(ภาคใต้)

อ.โกสุมพสิัย

(ภาค ต/น)

กรุงเทพ

(ภาคกลาง)

จ.เชียงใหม่

(ภาคเหนือ)

พทัยา

(ภาคตะวันออก)

Page 22: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่2

จ.สงขลา

(ภาคใต้)

อ.โกสุมพสิัย

(ภาค ต/น)

กรุงเทพ

(ภาคกลาง)

จ.เชียงใหม่

(ภาคเหนือ)

พทัยา

(ภาคตะวันออก)

Page 23: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่2

จ.สงขลา

(ภาคใต้)

อ.โกสุมพสิัย

(ภาค ต/น)

กรุงเทพ

(ภาคกลาง)

จ.เชียงใหม่

(ภาคเหนือ)

พทัยา

(ภาคตะวันออก)

Page 24: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่ 4

การวิเคราะห์แบ่งกลุ่ม

แนวทางออกแบบ

ตามสภาพภูมิอากาศประเทศไทย

Page 25: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่ 4 การวิเคราะห์แบ่งกลุ่มแนวทางออกแบบ

ตามสภาพภูมิอากาศประเทศไทย

• ขนาดช่องเปิด Opening size79 % ต้องการช่องเปิดขนาดใหญ่ 50-80 %ของพืน้ทีผ่นัง

7 % ต้องการช่องเปิดขนาดกลาง 30-50 %ของพืน้ทีผ่นัง

15 % ต้องการช่องเปิดขนาดเลก็ 20-30 %ของพืน้ทีผ่นัง

• แนวการวางอาคาร Lay-Out100 % วางอาคารตามตะวนั คอืวางด้านยาวให้ไปตามทศิ ตะวนัออก – ตะวนัตก ให้เกดิการระบาย

อากาศทางด้านทศิเหนือ-ทศิใต้

• ลกัษณะพืน้ที ่ Spacing48 % ต้องการลกัษณะพืน้ทีแ่บบเปิดโล่ง และมีกระแสลมไหลอ่อนๆ ตลอดทัง้ปี

52 % ต้องการลกัษณะพืน้ทีแ่บบเปิดโล่ง แต่ต้องป้องกนัลมในช่วงทีอ่ากาศหนาว

• การไหลของอากาศ Air movement100 % ควรวางอาคารแบบจ่ายออกทางเดยีว Single banked rooms เพือ่ให้เกดิการ

ไหลเวยีนของอากาศแบบข้ามฝาก Cross Ventilation

Page 26: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

บทที ่ 4 การวิเคราะห์แบ่งกลุ่มแนวทางออกแบบ

ตามสภาพภูมิอากาศประเทศไทย

ลกัษณะโครงสร้างหลงัคา Roof Construction45 % ต้องใช้วสัดุมวลเบา มีการสะท้อนความร้อนทีด่ ี มีช่องว่างระหว่างหลงัคากบัฝ้าเพดาน

37% ต้องใช้วสัดุมวลเบา มีฉนวนกนัความร้อนทีด่ี

17 % ต้องใช้วสัดุมวลมาก มีช่วงเวลาการสะสมความร้อนไม่น้อยกว่า 8 ชม.

ตําแหน่งช่องเปิด Opening Position100 % ต้องวางตําแหน่งช่องเปิดทางด้านทศิเหนือ และทศิใต้ พดัผ่านระดบัผู้ใช้งานอยู่ในทศิทางทีม่ี

ลมผ่าน

การป้องกนัช่องเปิด Opening protection97 % ต้องการ การป้องกนัแสงแดดโดยตรง และการป้องกนัฝน ทีบ่ริเวณช่องเปิด

3 % ต้องการ การป้องกนัแสงแดดโดยตรง

วสัดุพืน้ – ผนัง Wall and Floors39 % ต้องใช้วสัดุมวลเบา การสะสมความร้อนน้อย

61 % ต้องใช้วสัดุมวลมาก มีช่วงเวลาการสะสมความร้อนไม่น้อยกว่า 8 ชม.

Page 27: Vichate Tawatnuntachai 10 September 2004 · ฤดูกาลและสภาพด ินฟ้าอากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย

Climate

Vichate Tawatnuntachai

Analysisfor

Design

Thai

10 September 2004

[ Thank you ]