InformatIon · 2019-05-15 · Udon Thani Rajabhat University InformatIon...

Preview:

Citation preview

Udon Thani Rajabhat UniversityInformatIon

สารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีปีการศึกษา 2561

2561

ค�ำน�ำ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เป็นศูนย์

กลางการศึกษาและวิจัย ผลิตบัณฑิต จิต

อาสา เป็นพลังแผ่นดิน เพ่ือการพัฒนา

ท้องถิ่น โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

ได้ผลิตบุคลากรท่ีมีคุณภาพ พัฒนาและ

ถ่ายทอดเทคโนโลยีและองค์ความรู้ที่สอด

คล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและ

ภูมิภาค เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ สร้าง

เครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาการ

ศึกษา การวิจัย และศิลปวัฒนธรรมมา

อย่างต่อเนื่อง

สารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

ประจ�าปีการศึกษา 2561 ได ้รวบรวมข้อมูล

พ้ืนฐาน โครงสร้างการบริหารงาน ข้อมูลด้าน

หลักสูตร จ�านวนนักศึกษา บุคลากร งบประมาณ

อาคาร สิ่งก่อสร้าง และยานพาหนะ ที่ส�าคัญของ

มหาวิทยาลัย ซ่ึงสะท้อนให้เห็นถึงศักยภาพและ

ความพร้อมของทรัพยากรในด้านต่างๆ ในการ

ด�าเนินงานตามพัธกิจของมหาวิทยาลัย โดยมี

วัตถุประสงค์เพ่ือเผยแพร่ข้อมูลแก่หน่วยงาน

ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ตลอดจนผู ้

ที่สนใจ

มหา วิทยาลั ย ราชภัฏอุ ดรธานี หวั ง ว ่ า

สารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ประจ�า

ปีการศึกษา 2561 ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้

บริหาร คณาจารย์ และบุคลากรของมหาวิทยาลัย

ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องและผู้ที่สนใจศึกษาค้นคว้า

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

ธันวาคม 2561

ประวัติมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 1

ข้อมูลพื้นฐานมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 7

โครงสร้างการบริหาร 26

สารสนเทศด้านหลักสูตร 32

สารบัญ

สารสนเทศด้านนักศึกษา 40

สารสนเทศด้านบุคลากร 50

สารสนเทศด้านงบประมาณ 56

สารสนเทศด้านอื่นๆ 64

ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466

มีราชบุรุษเพ่ิม การสมศีล ท�าหน้าท่ีแทนครู

ใหญ่ เปิดสอน หลักสูตรครูประกาศนียบัตร

มณฑล โดยรับนักเรียนชายท่ีจบประถมศึกษา

ปีที่ 4 เข้าศึกษาต่ออีก 2 ปี นักเรียนเหล่านี้เป็น

นักเรียนทุนจากจังหวัดต่างๆ ในมณฑล

สถำนที่ตั้งเดิมอยู่ที่บริเวณสโมสรเสือป่ำ

มณฑลอุดร ซึ่งเป็นท่ีตั้งชั่วครำว ต่อมำจึงมี

กำรก่อสร้ำงอำคำรเรียนถำวรบริเวณห้วยโซ ่

(มหำวิทยำลัยรำชภัฏอุดรธำนี ในปัจจุบัน)

มีพื้นท่ีประมำณ 350 ไร่ต่อมำได้แบ่งพื้นที่

บำงส่วนให้หน่วยงำนอื่น ปัจจุบันมีพื้นที่

ทั้งหมด 237 ไร่ 3 งำน 37 ตำรำงวำ

มหำวทิยำลยัรำชภฏัอุดรธำนี เดิมชื่อว ่า“โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมมณฑลอุดร”

โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมมณฑลอุดรต่อมา

ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนฝึกหัดครูมณฑลอุดร”

เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรครูมูล เช่นเดิม

ในปี พ.ศ. 2473 ทางการได้จัดต้ังโรงเรียนฝึกหัด

ครูสตรีประกาศนียบัตรมณฑลอุดรขึ้น รับนักเรียน

สตรีที่สอบไล่ได้ช้ันประถมศึกษาเข้าเรียนต่อใน

หลักสูตรประกาศนียบัตรมณฑล

ประวตัิ

1

ปี พ.ศ. 2477 ได้เปิดสอนหลักสูตร

ประกาศนียบัตรจังหวัด (ว.) โดยรับ

นักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หรือ

ประโยคครูประชาบาล (ป.บ.) เข้าศึกษา

ต่ออีก 2 ปี และเปิดรับนักเรียนชายเข้า

เรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรจังหวัด

ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475

โรงเรียนฝึกหัดครูมณฑล

อุดรได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น

“โรงเรียนฝึกหัดครูจังหวัด

อุดรธานี”

2

ปี พ.ศ. 2482 มีประกาศกระทรวงธรรมการ

ยุบโรงเรียนฝึกหัดครูจังหวัดอุดรธานี โอนไป

สังกัดโรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัด

อุดรธานี กรมสามัญศึกษา กระทรวงธรรมการ

เปิดสอนหลักสูตรมัธยมศึกษาพิเศษ 1 โดยรับ

นักเรียนที่จบชั้นประถมปีที่ 4 เข้าศึกษาต่อเพื่อ

ส่งไปเป็นครูในท้องถิ่นทุรกันดาร เพื่อแก้ปัญหา

การขาดแคลนครู

ปี พ.ศ. 2491 กรมสามัญศึกษาได้ส่งส�าเนา

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ แจ้งเรื่องการ

เปลี่ยนชื่อโรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตร

จังหวัดอุดรธานี เป็นโรงเรียนฝึกหัดครูอุดรธานี

ปี พ.ศ. 2501 กรมการฝึกหัดครูได้จัดสรรงบ

ประมาณจ�านวนหน่ึง ย้ายโรงเรียนสตรีฝ ึกหัด

ครอูดุรธานมีารวมกบัโรงเรยีนฝึกหดัครูอุดรธานี

และให้ใช้ชื่อเรียกรวมกันว่า “โรงเรียนฝึกหัด

ครูอุดรธานี” และแต่งตั้งให้นายศิริ สุขกิจ

ศึกษานิเทศก์เอก ด�ารงต�าแหน่งอาจารย์ใหญ่

3

ต่อมากระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศยกฐานะโรงเรียนฝึกหัดครูอุดรธานี

เป็น “วิทยาลัยครูอุดรธานี” เมื่อวันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 พร้อมกับเปิด

สอนในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ. สูง) ต้ังแต่วันที่ 1

พฤษภาคม พ.ศ. 2503 เป็นต้นมา

พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518 ก�าหนดให้วิทยาลัยครูอุดรธานีเป็น

สถาบันอุดมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนถึงระดับปริญญาตรีและ

เปิดสอนนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาครุศาสตร์ หลักสูตรสภาการฝึกหัดครู

พ.ศ. 2519 ท�าให้เกิดคณะวิชาครุศาสตร์ คณะวิชาวิทยาศาสตร์ และคณะวิชา

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2520

วิทยาลัยครูอุดรธานีได้ร่วมกับวิทยาลัยครูอีก 7 แห่งใน

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือด�าเนินงานต่างๆ ร่วมกันใน

นามกลุ่มวิทยาลัยครูภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซ่ึงต่อ

มาในปี พ.ศ. 2528 มีการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ

วิทยาลัยครู พ.ศ. 2518 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2527

ก�าหนดให้วิทยาลัยครูรวมกันเป็นกลุ ่มและสภา

ฝึกหัดครูได้ออกข้อบังคับว่าด้วยกลุ ่มวิทยาลัย

ครู พ.ศ. 2528 เป็นผลให้วิทยาลัย

ครู 4 แห่ง ในภาคอีสานตอนบน

รวมกันเป็นสหวิทยาลัยอีสานเหนือ

มีส�านักงานตั้งอยู่ที่วิทยาลัยครูอุดรธานี

และผลจากการแก้ไขพระราชบัญญัตินี้

วิทยาลัยได้เปิดสอนระดับปริญญาตรี

ในสาขาอื่นๆ นอกเหนือจากสาขาวิชา

การศึกษา และได้จัดตั้ง

คณะวิทยาการจัดการ

ขึ้นอีกคณะหนึ่ง

4

เม่ือวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “สถาบันราชภัฏ” ให้กับวิทยาลัยครูท่ัวประเทศ

ครั้นต่อมา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2538 ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อชาวราชภัฏเป็นล้นพ้น

ด้วยทรงพระเมตตาโปรดกล้าฯ พระราชทานพระราชลัญจกรประจ�าพระองค์ให้เป็น “สัญลักษณ์

ประจ�าสถาบันราชภัฏ” นับเป็นมหาสิริมงคลอันควรท่ีชาวราชภัฏท้ังมวลจักได้ภาคภูมิใจ

และพร้อมใจกันปฏิบัติหน้าที่สนองพระมหากรุณาธิคุณให้เต็มความสามารถ ในอันที่จะพัฒนา

สถาบันราชภัฏให้เป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างแท้จริง

Timeline

Strat

5

สถาบันราชภัฏอุดรธานีได้เปิดสอนในสาขาวิชา

การศึกษา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และสาขาวิชา

ศิลปศาสตร์ ตามหลักสูตรวิทยาลัยครูฉบับปรับปรุง

พุทธศักราช 2536 และปรับปรุง พ.ศ. 2543 ใน

ระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา

และมีภารกิจตาม พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ

พ.ศ. 2538 มาตรา 7 คือ “ให้สถาบันราชภัฏเป็น

สถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน มี วั ตถุ

ประสงค์ให้การศึกษาวิชาการและวิชาชีพช้ันสูง

ท�าการวิจัยให้บริการวิชาการแก่สังคม ปรับปรุง

ถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ทะนุบ�ารุงศิลป

วัฒนธรรม ผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู”

วันท่ี 10 มิถุนายน พ.ศ. 2547

พระบาทสมเด็จพระปรมินทร

มหาภูมิพลอดุลย เดช ทรงลง

พระปรมาภิไธย พระราชบัญญัติ

มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547

และประกาศในราชกิจจานุเบกษา

เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2547

ส่งผลให้สถาบันราชภัฏอุดรธานี

ได้รับการยกฐานะและปรับเปลี่ยน

สถานภาพเป็น “มหาวิทยาลัย

ราชภัฏอุดรธานี” ต้ังแต่วันที่ 15

มิถุนายน พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา6

ข้อมูลพื้นฐานสถานที่จัดการศึกษา แบ่งเป็น 3 พื้นที่ ดังนี้

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

พื้นที่หลักในเมืองอุดรธานี ตั้งอยู่

เลขที่ 64 ถ น น ท ห า ร

ต�าบลหมากแข้ง อ�าเภอเมอืง

อุ ด ร ธ านนี จั ง ห วั ด อุ ด ร ธ านี

มีพ้ืนที่ 237 ไร่ 3 งาน

37 ตารางวา

1

7

8

64 ถนนทหาร ต�าบลหมากแข้ง อ�าเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี 41000

6

มหาวิทยาลัยได้ขยายพื้นที่การ

ศึกษาไปตั้งที่บ้านสามพร้าว

ต�าบลสามพร้าว อ�าเภอเมอืง

อดุรธานี จังหวดัอดุรธาน ีมพืีน้ที่

2,090 ไร่

2

9

10

พื้นที่สามพร้าว บ้านสามพร้าว ต�าบลสามพร้าว อ�าเภอเมืองอุดรธานีจังหวัดอุดรธานี 41000

10

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

ศูนย์การศึกษาบึงกาฬ ตั้งอยู ่

เ ลขที่ 2 85 หมู ่ 2

บ้านดอนอุดม ต�าบล

โนนสมบูรณ ์ อ� า เภอเมือง

จังหวัดบึงกาฬ มีพื้นที่ 204 ไร่

3

11

12

ตราสัญลักษณ์ ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย เป็นรูปวงรี 2 วงซ้อนกัน

ระหว่างวงรีส่วนบนเขียนเป็นภาษาไทยว่า “มหาวิทยาลัย

ราชภัฏอุดรธานี” ส ่วนล ่างเขียนเป ็นภาษาอังกฤษว ่า

“ U D O N T H A N I R A J A B H AT U N I V E R S I T Y ”

ภายใต้วงรีด้านในมีตราพระราชลัญจกรประจ�าพระองค์

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ซึ่งเป็นรูปพระที่นั่ง

อัฐทิศประกอบด้วยวงจักร กลางวงจักรมีอักขระอุหรือ

เลข ๙ รอบวงจักรมีรัศมีเปล่งออกโดยรอบ เหนือจักรเป็นรูป

เศวตฉัตรเจ็ดชั้น ตั้งอยู่บนพระที่นั่งอัฐทิศ แปลความหมายว่า

ทรงมีพระเดชานุภาพในแผ่นดิน

ตราสัญลักษณ์

13

สีน�้าเงิน แทนค่าสถาบันพระ

มหากษัตริย์ผู ้ให้ก�าเนิดและ

พระราชทานนาม “สถาบัน

ราชภัฏ”

สีเขียว แทนค่าแหล่งที่ตั้ง

ของมหาวิทยาลัยราชภัฏซึ่ง

อยู ่ในแหล่งธรรมชาติและ

มีสภาพแวดล้อมที่สวยงาม

สีทอง แทนค่าความเจริญ

รุ่งเรืองทางปัญญา

สีส้ม แทนค่าความเจริญ

รุ ่งเรืองของศิลปวัฒนธรรม

ท้องถิ่นที่ก ้าวไกลใน

มหาวิทยาลัยราชภัฏสีขาว แทนค่า ความคิดอัน

บริสุทธิ์ของนักปราชญ์แห่ง

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู ่หัว

ความหมายของสีในตราสัญลักษณ์

14

ดอกไม้ประจ�ำมหำวิทยำลัย

สีเหลืองสีเขียว

สีประจ�ามหาวิทยาลัย

15

ปรัชญา : ผู้น�าทางปัญญา พัฒนาคน พัฒนาชาติ

พุทธสุภาษิต : สุวิชาโน ภวฺ โหติ (ผู้มีความรู้ดี เป็นผู้เจริญ)

วิสัยทัศน์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เป็นศูนย์กลางการศึกษาและวิจัย ผลิตบัณฑิตจิตอาสา พัฒนาท้องถิ่น

อัตลักษณ์ : จิตอาสาและพัฒนาท้องถิ่น

เอกลักษณ์ : แหล่งเรียนรู้ทางวิชาการและให้บริการวิชาการแก่สังคม

ดอกทองกวำว หรือดอกจำน

16

จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาซึ่งมุ่งผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ

มีส�านึกความเป็นไทย และมีความรักความผูกพันในท้องถิ่น

การพัฒนาระบบการเรียนการสอนในสาขาวิชาต่างๆ และ

หลักสูตรแนวใหม่ ท่ีมีการบูรณาการศาสตร์สากลและ

ภูมิปัญญาไทยทั้งในปัจจุบันและอนาคตให้สอดคล้องกับ

ความต้องการก�าลังคนของท้องถ่ิน ประเทศตลอดจนระดับ

ภูมิภาคอินโดจีน

สร้างสรรค์และพัฒนางานวิจัยเพ่ือพัฒนาองค์ความรู ้และ

ภูมิปัญญาไทย ให้สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนา

ประเทศ เสริมสร้างการพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ที่มีคุณค่า

และเป็นประโยชน์ต ่อการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต และ

คุณภาพชีวิตของประชาชน และเพิ่มมูลค่าให้กับภูมิปัญญา

และเทคโนโลยีของท้องถิ่น

2

1

17

Missionพันธกิจ

เสริมสร้างความมั่นคงและความเข้มแข็งของชุมชนในท้องถิ่น

ถ ่ายทอดองค์ความรู ้และเทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหา

และความต้องการพัฒนาท้องถิ่น ด�าเนินการศึกษา ส่งเสริม

สืบสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริและสร้างสรรค์

ศิลปวัฒนธรรม

เสริมสร้างความเข้มแข็งของวิชาชีพครู ผลิตและส่งเสริม

วิทยฐานะของครู ผลิตครูแนวใหม่ พัฒนาครู และบุคลากร

ทางการศึกษาให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู

และสอดคล้องกับแผนพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

3

418

วัตถุประสงค์

เพื่อให ้เป ็นอุดมศึกษาท่ีสามารถผลิต

บุคลากรที่ มี คุณภาพและมาตรฐาน

เทียบเท่าสถาบันอุดมศึกษาช้ันน�า อ่ืนๆ

ที่สอดคล้องกับความต้องการก�าลังคน

ของประเทศ มีความรู ้ความสามารถ

และทั กษะในการประกอบวิ ช าชีพ

มีคุณลักษณะความเป็นผู้น�า มีความริเริ่ม

สร ้ า งสรรค ์ มี คุณธรรม จริ ยธรรม

มีจิตส�านึกแบบผู้ประกอบการ

เพ่ือพัฒนาและบูรณาการงานวิชาการ

ใ น ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า เทคโนโลยีที่สามารถสร้างสรรค ์องค ์

ความรู้ และภูมิปัญญาไทย ที่ก่อให้เกิด

ประโยชน์และตอบสนองความต้องการ

ของท้องถิ่น ด�าเนินการศึกษาโครงการ

อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ เพื่ อสร ้ า ง

รากฐานให้เกิดความมั่นคงของชุมชนใน

ประเทศ

1 2

19

เพ่ือให้มหาวิทยาลัยเป็นศูนย์กลางแห่ง

การเรียนรู้ของท้องถิ่นและภูมิภาค เป็น

แหล่งในการให้ความรู้ทางวิชาการและ

ข้อมูลสารสนเทศ รวมทั้งเป ็นผู ้น�าใน

การศึกษาและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม

ของท ้องถิ่นและประเทศเพื่อนบ ้าน

ประสานความร ่ วมมือทางวิชาการ

กับสถาบันอุดมศึกษาทั้งภายในและต่าง

ประเทศในการพัฒนาการศึกษาของ

ท้องถ่ินและภูมิภาค

เพ่ือปรับปรุงองค์กรและระบบบริหาร

จั ดก า รภาย ใน ให ้ มี ค ว าม เ ข ้ ม แข็ ง

มีความยืดหยุ ่นมีอิสระคล่องตัวในการ

ด�าเนินงาน มุ่งเน้นให้มหาวิทยาลัยเป็น

สถาบันอุดมศึกษาของท ้องถิ่นอย ่าง

แท้จริงโดยให้องค์กรต่างๆ ท้ังภาครัฐ

เอกชน และประชาชนในท้องถ่ินมีส ่วน

ร่วมในการพัฒนา

3

4

20

1. ผลิตบุคลากรท่ีมีคุณภาพและปริมาณสอดคล้องกับความต้อง

การก�าลังคนของประเทศและภูมิภาค

2. เพิ่มงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์และสอด

คล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและภูมิภาค

3. ส่งเสริมและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนา

นวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

4. เพือ่เป็นศนูย์กลางการเรยีนรูแ้ละถ่ายทอดเทคโนโลยี

และองค์ความรู้แก่ประชาชนและองค์กรใน

ท้องถิ่น

5. สร้างเครือข่ายความร่วมมือใน

การพัฒนาการศึกษาการวิจัย

และศิลปวัฒนธรรม

6. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

และโรงเรียนสาธิตในสังกัด

7. เพิม่ประสิทธภิาพการบรหิารจัดการให้มศีกัยภาพในการแข่งขนั

เป้าหมาย

21

22

แผนยุทธศาสตร ์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

มียุทธศาสตร์ท่ีใช้ขับเคล่ือนการด�าเนินงานเพ่ือให้

บรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมายท่ีก�าหนด จ�านวน

4 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาท้องถิ่น

เป้าหมาย: การยกระดับการพัฒนาท้องถ่ิน

1) ด้านเศรษฐกิจ

2) ด้านสังคม

3) ด้านสิ่งแวดล้อม ที่สอดคล้องกับปัญหาและความ

ต้องการของชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเป้าหมาย

กลยุทธ์ที่ 1: บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจของท้องถ่ินท่ี

เป็นไปตามบริบทและความต้องการในการพัฒนาท้องถ่ิน

กลยุทธ์ที่ 2: บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อพัฒนาสังคมท้องถ่ิน ด้านศาสนา

ศิลปวัฒนธรรมและกีฬา การศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

และสุขภาพ

กลยุทธ์ที่ 3: บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพ่ือพัฒนาสังคมท้องถิ่นด้านส่ิงแวดล้อม

แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

23

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนาครู

เป้าหมาย: การมุ ่งเน้น

1) ผลิตครูระบบปิด/เปิด

2) พัฒนาศักยภาพครู

3) พัฒนานวัตกรรมการผลิตและพัฒนาครู

กลยุทธ์ที่ 1: ผลิตครูที่ได้มาตรฐานวิชาชีพและมีจิตวิญญาณความเป็นครู

และสอดคล้องกับความต้องการของท้องถ่ิน

กลยุทธ์ที่ 2: พัฒนาศักยภาพครูของครู ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้

มีความเป็นมืออาชีพ

กลยุทธ์ที่ 3: สร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู ้ใน

ศตวรรษที่ 21 สู ่การศึกษา 4.0

24

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดับคุณภาพการศึกษา

เป้าหมาย: การมุ ่งเน้น

1) ยกระดับความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยราชภัฏ

2) พัฒนาอาจารย์

3) คุณภาพบัณฑิต

กลยุทธ์ที่ 1: พัฒนาแหล่งเรียนรู ้ให้เอื้อต่อการเรียนรู ้ตลอดชีวิต

กลยุทธ์ที่ 2: พัฒนาคุณภาพการบริการทรัพยากรการเรียนรู ้

กลยุทธ์ที่ 3: พัฒนา ปรับปรุงหลักสูตรสหวิทยาการที่ตอบสนองต่อการพัฒนาท้องถิ่น

กลยุทธ์ที่ 4: พัฒนาศักยภาพอาจารย์ให้เป็นมืออาชีพ

กลยุทธ์ที่ 5: พัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้บัณฑิตเป็นคนดีมีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ

ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ

เป้าหมาย: การมุ ่งเน้น

1) ก�าหนดพื้นที่ความรับผิดชอบ

2) ระบบฐานข้อมูล

3) การใช้ทรัพยากรร่วมกัน

4) พัฒนาเครือข่าย

5) จัดระบบงานสู ่ความเป็นเลิศและเสริมสร้างธรรมาภิบาล

กลยุทธ์ที่ 1: ก�าหนดพื้นที่ความรับผิดชอบในการพัฒนาท้องถิ่น

กลยุทธ์ที่ 2: พัฒนาระบบฐานข้อมูลร่วม

กลยุทธ์ที่ 3: จัดหา พัฒนา แลกเปลี่ยนทรัพยากรทางการศึกษา

กลยุทธ์ที่ 4: สร้างเครือข่ายประชารัฐในการท�างานตามพันธกิจ

กลยุทธ์ที่ 5: จัดท�าระบบงานสู ่ความเป็นเลิศและเสริมสร้างธรรมาภิบาล

25

โครงสร้างการบริหาร

สภามหาวิทยาลัย

สภาวิชาการ สภาคนาจารย์และข้าราชการ คณะกรรมการส่งเสริม กิจกรรมมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัย

คณะกรรมการบริหาร มหาวิทยาลัย หน่วยตรวจสอบภายใน

หน่วยงานจัดการศึกษา หน่วยงานสนับสนุน การจัดการศึกษา

คณะครุศาสตร์ ส�านักงานอธิการบดี

คณะมนุษยศาสตร์ ส�านักส่งเสริมวิชาการ และสังคมศาสตร์ และงานทะเบียน

คณะวิทยาการจัดการ ส�านักศิลปะและวัฒนธรรม

คณะวิทยาศาสตร์ ส�านักวิทยบริการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยี สถาบันวิจัยและพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย ศูนย์การศึกษาบึงกาฬ ส�านักวิชาศึกษาทั่วไป

26

คณะกรรมการสภา

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีนายกสภามหาวิทยาลัย

ศ.ดร.วิรุณ ตั้งเจริญ

อุปนายกสภามหาวิทยาลัย

นายอิทธิศักดิ์ ตันติสุทธาพงศ์

อธิการบดี

นายจรูญ ถาวรจักร์

กรรมการผู ้ทรงคุณวุฒิ

ศ.ดร.ปรีชา ประเทพา รศ.ดร.สุจิตรา เหลืองอมรเลิศ

ผศ.ดร.ปัญญา การพานิช ดร.อ�านาจ ผการัตน์

นายสมหมาย ปาริจฉัตต์ นางฉวีวรรณ สุคันธรัต

นายพรเทพ ศักดิ์สุจริต นางอุมาพร วังค�าแหง

ประธานกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย

นายวิโรจน์ พิพัฒน์ไชยศิริ

ประธานสภาคณาจารย์และข้าราชการ

ผศ.ดร.สุรัชนี เคนสุโพธิ์

กรรมการจากผู ้บริหาร

รศ .ดร . วัลลภ เหมวงษ ์ ผศ .ดร .ชาติ ชาย ม ่ ว งปฐม

ผศ.ดร.สุทธิพงศ์ เปรื่องค้า ผศ.พัฒนาภรณ์ ชัยประเสริฐ

กรรมการจากคณาจารย์ประจ�า

รศ.ดร.สุนทร สุทธิบาก ผศ.ดร.กรีฑา พรหมเทพ

ผศ.ปณิธาน เมฆกมล ดร.อรรจนา ด้วงแพง

เลขานุการสภามหาวิทยาลัย

ผศ.ดร.ชาติชาย ม่วงปฐม

27

คณะผู้บริหาร

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

28

อธิการบดีนายจรูญ ถาวรจักร์

รองอธิการบดีผศ.ดร.ชาติชาย ม่วงปฐม รศ.ดร.น.สพ.ฤทธิชัย พิลาไชยผศ.ดร.กฤตฏ์ ชมพูวิเศษ ผศ.ดร.มณีญา สุราชผศ.ดร.คณิศรา ธัญสุนทรสกุล ดร.วิบูล เป็นสุข

ผู ้ช ่วยอธิการบดีผศ.ดร.พนา ตุลยพันธ์ นางวฤธรณ์ ตุลย์ณวัฒน์ ดร.สุภัทรา วันเพ็ญ

ผู ้บริหารหน่วยงานด้านวิชาการผศ.ดร.ชาติชาย ม่วงปฐม คณบดีคณะครุศาสตร์ (รักษาการ)ดร.ศิลปชัย เจริญ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ผศ.ยุพาลัย ทองธิราช คณบดีคณะวิทยาการจัดการผศ.พัฒนาภรณ์ ชัยประเสริฐ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ผศ.ดร.สุทธิพงศ์ เปรื่องค้า คณบดีคณะเทคโนโลยีรศ.ดร.ชวลิต อธิปัตยกุล คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยนายสัติยะพันธ์ คชมิตร ผู้อ�านวยการส�านักวิชาศึกษาทั่วไป

ผู ้บริหารหน่วยงานสายสนับสนุนวิชาการนางวิลาวัณย์ ฉิมมะลี ผู ้อ�านวยการส�านักงานอธิการบดีรศ.ดร.วัลลภ เหมวงษ์ ผู ้อ�านวยการส�านักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนผศ.ปัจจัย พวงสุวรรณ ผู้อ�านวยการส�านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศดร.พรภัทรา จ�าเริญ ผู ้อ�านวยการส�านักศิลปะและวัฒนธรรมดร.เอกราช ดีนาง ผู ้อ�านวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา

ผู ้บริหารส�านักงานอธิการบดีนายณัฏฐพงษ์ ธนูศิลป์ ผู ้อ�านวยการกองกลางนางสาวพิทยาภรณ์ สุทธิอาจ ผู ้อ�านวยการกองนโยบายและแผนนางสาวรัชดาวรรณ พิทักษ์วาปี ผู ้อ�านวยการกองบริหารงานบุคคลนางเจริญรัตน์ บุญมาตุ ่น ผู ้อ�านวยการกองพัฒนานักศึกษา

คณะกรรมการสภาวิชาการประธานกรรมการ

นายจรูญ ถาวรจักร อธิการบดี

กรรมการผู ้ทรงคุณวุฒิ

รศ.ดร.ก่ิงฟ้า สินธุวงษ์

รศ.ดร.มานะ ขาวเมฆ

รศ.ดร.รัชพล สันติวรากร

รศ.ดร.ณัฐวงศ์ พูนผล

ผศ.ดร.ภูมิ มูลศิลป์

กรรมการผู ้แทนคณะ

ผศ.ดร.เพียร สิงห์จานุสงค์

ผศ.ดร.ธีรยุทธ์ เพ็งชัย

ผศ.ดร.จุฬามาศ จันทร์ศรีสุคต

ผศ.โชคชัย เดชรอด

ผศ.ไพบูลย์ บุบผา

กรรมการและเลขานุการ

รศ.ดร.น.สพ.ฤทธิชัย พิลาไชย รองอธิการบดี

29

คณะกรรมการสภาคณาจารย์

และข้าราชการประธานสภาคณาจารย์และข้าราชการ

ผศ.ดร.สุรัชนี เคนสุโพธิ์

รองประธานสภาคณาจารย์และข้าราชการ

ผศ.นวภัทร นวกะคาม

กรรมการสภาคณาจารย์และข้าราชการ

ผศ.ดร.คณิศร จี้กระโทก

ผศ.ดร.กริช สมกันธา

ผศ.ณัฏฐนันธ์ สุวรรณวงก์

ดร.วินัย มีแสง

ดร.นครชัย ชาญอุไร

ดร.วลัยลักษณ์ แก้ววงษา

อ.นัธทวัฒน์ พรหมภักดี

อ.คมกริช สนิทชน

อ.จรินทร์ทิพย์ ประทุมรัตน์

นายนนทวิทย์ ภูมิสะอาด

นายนันทวัฒน์ ป้อมเชียงพิณ

นายเกียรติพงศ์ ตระการจันทร์

นายเกียรติชัย วาณิช

นายอภิชาติ ศิลปะกอบ

เลขานุการสภาคณาจารย์และข้าราชการ

ดร.อรรจนา ด้วงแพง

30

คณะกรรมการส่งเสริม

กิจการมหาวิทยาลัยประธานกรรมการ

นายวิโรจน์ พิพัฒน์ไชยศิริ

กรรมการผู ้ทรงคุณวุฒิ

พันเอก ดร.นายแพทย์ประทิน นาคช่ืน

พันโทวรายุส์ ตรีวัฒนสุวรรณ

ดร.ธนดร พุทธรักษ์

นายสวาท ธีระรัตนนุกูลชัย

นางกนกพรรณ ชฎาทอง

นางกฤษณา คุณะปุระ

นายชวลิต เพียงพอ

นางสุพัตรา รุ ่งจินดารัตน์

นางฉายา ตยางคนนท์

นางสุภาสรณ์ แต้รัตนชัย

นายธิติวัฒน์ สิมานนท์ธัญนิจ

นายเชาว์ อุดมพานิชย์

ประธานสภานักศึกษา

สิบเอกวุฒิพงษ์ คีรี

นายกองค์การนักศึกษา

นางสาวปรีชญา ปะคะพันธ์

เลขานุการ

ผศ.ดร.กฤตฏ์ ชมภูวิเศษ

31

หลักสูตรสารสนเทศที่เปิดสอน หลักสูตรที่เปิดสอน

หลักสูตรคณะครุศาสตร์

หลักสูตรคณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์

หลักสูตรคณะวิทยาการจัดการ

หลักสูตรคณะวิทยาศาสตร์

หลักสูตรคณะเทคโนโลยี

หลักสูตรบัณฑิตวิทยาลัย

32

หลักสูตรที่เปิดสอนในปีการศึกษา 2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

มีหลักสูตรที่เปิดสอนรวมทั้งหมด 82 หลกัสตูร ดังนี้

33

หลักสูตรคณะครุศาสตร์

34

หลักสูตรคณะมนุษยศาสตร์

และสังคมศาสตร์

35

หลกัสูตรคณะวิทยาการจัดการ

36

หลักสูตรคณะวิทยาศาสตร์

37

หลักสูตรคณะเทคโนโลยี

38

หลักสูตรบัณฑิตวิทยาลัย

39

สารสนเทศด้านนักศึกษา • นักศึกษาเข้าใหม่ ปีการศึกษา 2561

• นักศึกษาทั้งหมด

• นักศึกษาที่ส�าเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2560

• นักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

40

ข้อมูล ณ วันที่ 2 ตุลาคม 2561

ตารางจ�านวนนักศึกษาเข้าใหม่ในปีการศึกษา 2561 จ�าแนกตามด้านการจัดสรรงบ

ข้อมูล ณ วันที่ 2 ตุลาคม 2561

41

นักศึกษาเข้าใหม่ในปีการศึกษา 2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีเปิดสอนระดับปริญญาตรี

และระดับบัณฑิตศึกษา มีนักศึกษาเข้าใหม่ จ�านวน 4,150 คน รายละเอียดดังนี้

ตารางจ�านวนนักศึกษาเข้าใหม่ในปีการศึกษา 2561 จ�าแนกตามคณะ

นักศึกษาทั้งหมด

ในปีการศึกษา 2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีมีนักศึกษา

ที่ก�าลังศึกษาอยู่ทั้งหมด จ�านวน 16,823 คน รายละเอียดดังนี้

ตารางจ�านวนนักศึกษาทั้งหมดในปีการศึกษา 2561 จ�าแนกตามคณะ

ข้อมูลจากส�านักส่งเสริมวิชาการฯ ณ วันที่ 2 ตุลาคม 2561

ตารางจ�านวนนักศึกษาเข้าใหม่ในปีการศึกษา 2561 จ�าแนกตามด้านการจัดสรรงบ

ข้อมูลจากส�านักส่งเสริมวิชาการฯ ณ วันที่ 2 ตุลาคม 2561

42

นักศึกษาที่ ส�าเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีมีนักศึกษาที่ส�าเร็จการศึกษา

ทั้งหมด จ�านวน 4,098 คน รายละเอียดดังนี้

ตารางจ�านวนนักศึกษาท่ีส�าเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2560 จ�าแนกตามคณะ

ข้อมูลจากส�านักส่งเสริมวิชาการฯ ณ วันที่ 29 ตุลาคม 2561

4143

ปีการศึกษา 2560

ตารางจ�านวนนักศึกษาที่ส�าเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2560 จ�าแนกตามด้านการจัดสรรงบประมาณ

ข้อมูลจากส�านักส่งเสริมวิชาการฯ ณ วันที่ 29 ตุลาคม 2561

44

45

ภาวะการมีงานท�าของบัณฑิต ท่ีส�าเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2559

ภาวะการมีงานท�าของบัณฑิต ที่ส�าเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2559

46

ในปีการศึกษา 2561 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

มีจ�านวนนักเรียนรวมท้ังหมด 428 คน จ�าแนกได้ดังนี้

ตารางจ�านวนนักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

นักเรียนโรงเรียนสาธิต

มหาวทิยาลยัราชภฏั

อุดรธานี

47

ข้อมูลจากโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ณ วันที่ 12 ตุลาคม 2561

48

สารสนเทศด้านบคุลากร • บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

• บุคลากรที่ลาศึกษาต่อ

• บุคลากรที่ได้รับอนุมัติต�าแหน่งวิชาการ

50

ในปีการศึกษา 2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มีบุคลากรทั้งหมด จ�านวน 1,070 คน

ประกอบด้วย บุคลากรสายวิชาการ 662 คน บุคลากรสายสนับสนุน 408 คน จ�าแนกได้ดังนี้

ตารางจ�านวนบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี จ�าแนกตามประเภทบุคลากร

บุคลากร

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

ข้อมูล ณ วันที่ 17 ธันวาคม 2561

51

ตารางจ�านวนบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี จ�าแนกตามระดับการศึกษา

52

ตารางจ�านวนบุคลากรสายวิชาการ จ�าแนกตามต�าแหน่งทางวิชาการ

ข้อมูล ณ วันที่ 17 ธันวาคม 2561

53

ตารางจ�านวนบุคลากรสายสนับสนุน จ�าแนกตามประเภทบุคลากรและหน่วยงาน

ข้อมูล ณ วันที่ 17 ธันวาคม 2561

54

บคุลากรทีล่าศกึษาต่อและบคุลากรทีไ่ด้รบัต�าแหน่งทางวชิาการ

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มีบุคลากรที่ลาศึกษาต่อจ�านวน 32 คน และบุคลากรท่ีได้รับอนุมัติต�าแหน่งทางวิชาการ จ�านวน 30 คน ดังนี้

ตารางจ�านวนบุคลากรท่ีลาศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก

ตารางจ�านวนบุคลากรท่ีได้รับอนุมัติต�าแหน่งทางวิชาการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

ข้อมูลจากกองบริหารงานบุคคล

55

สารสนเทศด้านงบประมาณ

• งบประมาณรายจ่ายประจ�าปี 10 ปี (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2562)

• งบประมาณรายจ่ายประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

• งบประมาณรายจ่ายประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

56

งบประมาณรายจ่ายประจ�าปี 10 ปี (พ.ศ.2553 – พ.ศ. 2562)

57

งบประมาณรายจ่ายประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มีงบประมาณเงินแผ่นดิน 658,792,500 บาท

และงบประมาณเงินรายได้ 265,764,600 บาท จ�าแนกได้ดังนี้

ตารางแสดงงบประมาณรายจ่ายประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จ�าแนกตามแผนงาน

58

ตารางแสดงงบประมาณรายจ่ายประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จ�าแนกตามหมวดรายจ่าย

59

งบประมาณรายจ่ายประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มีงบประมาณเงินแผ่นดิน 658,452,800 บาท

และงบประมาณเงินรายได้ 233,493,000 บาท จ�าแนกได้ดังนี้

ตารางแสดงงบประมาณรายจ่ายประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จ�าแนกตามแผนงาน

60

ตารางแสดงงบประมาณรายจ่ายประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จ�าแนกตามหมวดรายจ่าย

61

สรุปงบประมาณทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดินจ�าแนกตามหน่วยงาน

สรุปทุนวิจัยอาจารย์งบรายได้ (บก.ศ.) จ�าแนกตามหน่วยงานประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

62

สรุปทุนวิจัยนักศึกษา จ�าแนกตามระดับปริญญาและหน่วยงาน

ประจ�าปีการศึกษา 2561

63

สารสนเทศด้านอื่นๆ • ทรัพยากรสารสนเทศ

• ทุนการศึกษา

• ยานพาหนะ

• อาคารและสิ่งก่อสร้าง

64

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีได้จัดหาและรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นให้

บริการด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัย เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศอย่างสะดวก รวดเร็ว และครบ

ถ้วน โดยมีทรัพยากรสารสนเทศให้บริการแก่ผู้ใช้ดังนี้

ทรัพยากรสารสนเทศ

65

ตารางจ�านวนทรัพยากรสารสนเทศของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (พื้นท่ีในเมือง)

ตำรำงเปรียบเทียบทรัพยำกรสำรสนเทศปี พ.ศ. 2560 และปี พ.ศ. 2561 (พื้นที่ในเมือง)

66

ตารางจ�านวนทรัพยากรสารสนเทศของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (พ้ืนท่ีสามพร้าว)

67

ข้อมูล ณ วันที่ 3 ตุลาคม 2561

68

ทุนการศึกษาในปีการศึกษา 2561 นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีได้รับการสนับสนุนทุนการศึกษาจาก

ภาครัฐ เอกชน บุคคล บริษัท ห้างร้าน มูลนิธิต่างๆ ดังนี้

ตารางทุนการศึกษาจากภาครัฐ เอกชน บุคคล บริษัท ห้างร้าน มูลนิธิต่างๆ

69

70

นอกจากนี้มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานียังมีกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) และ

กองทุนเงินให้กู้ยืมท่ีผูกกับรายได้ในอนาคต (กรอ.) ให้แก่นักศึกษาในปีการศึกษา 2561

ทั้งหมดจ�านวน 3,694 ราย และ 283 ราย ตามล�าดับดังนี้

ตารางสรุปทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา กยศ. และ กรอ.

ยานพาหนะในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

มียานพาหนะท่ีใช้ในราชการ

ท้ังหมดจ�านวน 43 คัน ดังนี้

ตารางแสดงจ�านวนยานพาหนะของ

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

ปีการศึกษา 2561

71

อาคารและสิ่งก่อสร้างมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มีอาคารและสิ่งก่อสร้างที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน

การบริหารจัดการและการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมศักยภาพนักศึกษา ดังนี้

ตารางอาคารและสิ่งก่อสร้างมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี พื้นที่ในเมืองอุดรธานี

72

2.อาคารวังแดง

73

21. อาคาร17

74

ตารางอาคารและส่ิงก่อสร้างมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี พื้นที่

75

สามพร้าว

ตารางอาคารและส่ิงก่อสร้างมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ศูนย์การศึกษาบึงกาฬ

76

ที่ปรึกษาอธิการบดี

ผศ.จรูญ ถาวรจักร์

รองอธิการบดี ผศ.ดร.ชาติชาย ม่วงปฐม รศ.ดร.น.สพ.ฤทธิชัย พิลาไชย ผศ.ดร.กฤตฏ์ ชมพูวิเศษ ผศ.ดร.มณีญา สุราช ผศ.ดร.คณิศรา ธัญสุนทรสกุล ดร.วิบูล เป็นสุข

คณะผู้จัดท�านางสาวทิพยาภรณ์ สุทธิอาจ ผู้อ�านวยการกองนโยบายและแผนนางสาวอนัญญา เสียงใส นักวิเคราะห์นโยบายและแผนนางสาวอัชฌาวดี จันชุลี นักวิเคราะห์นโยบายและแผนนายวิศรุต จันทรเสมา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนนายชยัรุ่งเรือง อวิรุทธพาณิชย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนนางสาวธัญดา สีลาวงษ์ นักวิชาการศึกษานางฐานิดา แก้วปาน นักวิชาการศึกษา

ออกแบบปกและรูปเล่มนายวราวุฒิ ทิวะสิงห์ อาจารย์ประจ�าสาขาวิชาศิลปกรรมพืน้ถิน่ ส�านักวิชาศึกษาทัว่ไป

ออกแบบภาพประกอบแผนที่มหาวิทยาลัยอุดรธานีพืน้ที่ในเมืองนายสุริยา ชยัด�ารงณ์ นักวิชาการช่างศิลป์ กองกลาง ส�านักงานอธิการบดี

ออกแบบภาพประกอบแผนที่มหาวิทยาลัยอุดรธานีพืน้ที่สามพร้าวและศูนย์การศึกษาบึงกาฬนายวิศรุต จันทรเสมา นักวิเคราะห์นโยบายและแผน

ขอขอบคุณหน่วยงานที่ให้ความอนุเคราะห์ข้อมูลมา ณ ที่นี้

ช่ือเอกสาร : สารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ประจ�าปีการศึกษา 2561ที่อยู่ : กองนโยบายและแผน ส�านักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 64 ถนนทหาร ต�าบลหมากแข้ง อ�าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานีโทรศพัท์ : 042-211040 ต่อ 1717, 1704, 1488, 1499เว็บไซต์ : htpp://www.udru.ac.th/planudru/E-mail : plan.udru@gmail.com

Recommended