การออกแบบหลักสูตรและการสอน (Curriculum and...

Preview:

Citation preview

การออกแบบหลักสูตรและการสอน

(Curriculum and Instruction Designing)

โดย สุนทรี คนเที่ยง

สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

พิจารณาคํา 3 คํานี้

• Curriculum Development

• Curriculum Construction

• Curriculum Improvement

การพฒันาหลกัสตูร(Curriculum Development)

• การสรางหลกัสูตรใหม

• การปรับปรุงหลกัสตูร

พิจารณาอีกคํา 3 คํานี้

• Curriculum Planning

• Curriculum Implementation

• Curriculum Evaluation

พิจารณาอีกคํา 3 คํานี้

• Curriculum Designing

• Curriculum Designs

• Designs of Curriculum

Curriculum Designing

• กระบวนการหลักสูตรที่ตองอาศัย การคิด

พิจารณา และตัดสนิใจ เพื่อการวางแผนสราง

หรือจัดประสบการณ ใหบรรลุเปาหมายที่ตั้งไว

การออกแบบหลกัสตูร• เปนการกําหนด

– ขอบขาย (Scope)

– ลําดับ (Sequence)

ของประสบการณ (เนื้อหา / วิธีการ)

ระบบการศกึษาระบบการศกึษา

การศกึษานอกระบบ

Non-formal Ed

การศกึษาในระบบ

Formal Ed.

ตามอธัยาศัย

Informal Ed.

การศึกษาทั้ง 3 ระบบแตกตางกันอยางไร

Question?

Answer

จุดมุงหมาย

วิธีการศึกษา

หลักสูตร

ระยะเวลา

การวัดประเมินผล

เงื่อนไขการจบ

(ในระบบ/นอกระบบ)

ในระบบ : แนนอน

นอกระบบ : ยืดหยุน

Answer (ตามอัธยาศยั)

•ความสนใจ

•ศักยภาพ

•ความพรอม

•โอกาส

ผูเรียน จาก

บุคคล

ประสบการณ

สงัคม

สิง่แวดลอม

สื่อ / แหลงความรูอื่นๆ

ประสบการณการเรียนรูในโรงเรียน

ไดมาจากโปรแกรม 3 ประเภท ดังนี้

โปรแกรมการเรียนการสอน(Program of Study)โปรแกรมกิจกรรมนักเรียน (Student Activities Program)โปรแกรมกิจกรรมแนะแนว(Guidance Activities Program)

โปรแกรมการเรียนการสอน

(Program of Study)

ไดแก กระบวนวิชาเรียนตาง ๆ จัดวาเปน หัวใจสําคัญ

ของประสบการณในระบบ โรงเรียน สงเสริมใหผูเรียนเกิด

สติปญญาความรู เจตคติ และ ทักษะ ไดอยางกวางขวาง

แบงออกเปน 3 กลุมไดแก

1.1 กลุมวิชาบังคับ หรือการศึกษาทั่วไป

(General Education หรือ Core Program)

1.2 กลุมวิชาเฉพาะดาน (Specialized Education)

อาจเปนดาน Academic หรือ Vocational

1.3 กลุมวิชาเลือก (Exploratory Study หรือ

Electives)

โปรแกรมการเรียนการสอน (Program of Study)

โปรแกรมกิจกรรมแนะแนว (Guidance Activities Program)

ชวยสงเสริมใหนักเรียนมีประสบการณ

ในการเรียนรูชีวิต สังคม การศึกษาให

มากขึ้น

แบงเปน 3 ประเภท

แนะแนวอาชีพ (Vocational Guidance)แนะแนวการศึกษา (Educational Guidance)แนะแนวดานสวนตัวและสงัคม (Personal – Social Guidance)

ลักษณะการบริการแนะแนว1. การเก็บขอมลูเกี่ยวกับนักเรียนโดยละเอียด

(Individual Inventory Service)2. บริการสารสนเทศ

(Information Service)3. บริการใหคําปรึกษา

(Counseling Service)4. บริการหางาน/ศึกษาตอ

(Placement Service)5. บริการติดตาม/ประเมินผล (Follow-up /Evaluation Service)

โปรแกรมกิจกรรมนักเรียน (Student Activities Program)

: เปนสิ่ง “เสริม” ใหกระบวนการจัดการ

เรียนการสอนมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

หลักการจัดกิจกรรมนักเรียน

* จํานวน ชนิด ประเภท เปนไปตามความตองการของนักเรียน

• นักเรียนหนึ่งคนควรเปนสมาชิกไมเกิน 1 ชุมนมุ

สงเสริมใหทุกคนเขาชุมนุม และใชจายนอยที่สุด

* อยูในความดูแล ควบคุมของโรงเรียน

ประเภทของกิจกรรมนักเรียน

กิจกรรมเกี่ยวกับการปกครองโรงเรียน (School Government)

** Student Council

กิจกรรมที่ตองการความชํานาญการสูง (Large Technical Activities)

ชุมนมุตาง ๆ (School Clubs)

1. ชมุนุมวิชาการ ( Academic Clubs)

2. ชมุนุมความสนใจพิเศษ

(Special Interest Clubs)

3. ชมุนุมเพื่อการสังคม (Social Clubs)

จุดมุงหมายการจัดกิจกรรมนักเรียน

สงเสริมการเรยีนรูในชั้นเรียน

ชวยในการปรับตัวของเด็ก

สงเสริมประชาธิปไตย

สงเสริมการเปนผูนําและความรวมมอื

พัฒนาคุณลักษณะสวนตัว

พัฒนาสุขภาพกาย จติ ใหดขีึน้

สงเสริมการใชเวลาวางใหเปนประโยชน

ชวยในการบริหารโรงเรียน

ฯลฯ

แผนแบบ/ประเภทของหลกัสูตร

หลกัสูตรรายวิชา (Discrete- discipline Curriculum)

หลกัสูตรหมวดวิชา (Broad - field Curriculum)

หลักสูตรแกน (Core Curriculum)

แกนเฉพาะบางสวนของวิชา

แกนเฉพาะบางสวนของโปรแกรม

แกนทั้งโปรแกรม

สิ่งสาํคัญที่ควรคํานงึถึง

ตัวผูเรียน

และ

เนื้อหาวชิา

ผูเรยีน

มนุษยที่สมบูรณ

เกง มีสุข

ดี

เกงมีสติปญญา มีความสามารถ/ทักษะ

การเรียนรู การสื่อสาร

การจัดการ

การตดัสินใจ

การทํางานการคิด

การพึ่งตนเอง

การรูเทาทันฯ

การแกปญหาฯ

ดี

พัฒนาสงัคม

มีคุณธรรม จริยธรรม

มีคานิยมที่ดีงาม

พัฒนาตน

มีสุข

อนุรักษสิ่งแวดลอม อนุร

ักษ

พลังงาน

อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

อยูรวมก

ับผูอื่น

อยางมีค

วามสุข

สุนทรียภาพบุคลิกภ

าพดีมีสุข

ภาพดี

ทักษะที่จําเปนฯ

ภูมิใจใน

ความเปนไทยยึดมั่นในระบอบ

ประชาธิปไตย

เนือ้หา

เนื้อหาสาระของความรูในศาสตรตาง ๆ ประกอบไปดวย 4 ระดับ

(Taba, 1962)

1. ขอเท็จจรงิและกระบวนการ (Specific Facts and Process)

2. แนวคิดพื้นฐาน (Basic Ideas)

3. มโนภาพ (Concepts)

4. ระบบความคิดและวิธีสืบเสาะหาความรู (Thought System and

Method of Inquiry)

ผูกําหนดเนื้อหาจะตองพิจารณาถึง

1.ขอบขายของเนื้อหาวิชา (Scope) โดยพิจารณาจาก

1.1 คุณคาของเนื้อหานั้น

1.2 ความรูเกี่ยวกับผูเรียน และความสามารถของผูเรียน

1.3 เนื้อหาความรูที่เกี่ยวของกัน

1.4 ความเห็นของผูเชี่ยวชาญ (ลําดบักอนหลัง : Priority)

1.5 การวิจัยและทดลอง

1.6 โอกาสในการนําเนื้อหาไปประยุกตใชในเนื้อหา

1.7 ความเพียงพอของบุคลากร สถานที่เครื่องอํานวยความสะดวกและแหลงวิทยาการ

2. ลําดับของเนื้อหา (Sequence) โดยพิจารณา :2.1 ลําดบัชวงเวลาที่เกิดเหตกุารณ

2.2 สภาพแวดลอม

2.3 ความเปนเหตุเปนผล

2.4 ความยากงาย

2.5 ความเปนรูปธรรม/นามธรรม

2.6 ทันตอเหตุการณหรือทันตอสภาวะ ความพรอมหรือชวงความสนใจของผูเรียน

3. ระยะเวลา

เกณฑในการเลือกเนื้อหาวิชา

1. ความถูกตอง ทันสมัย (Validity)

2. ความสําคัญ โดยพจิารณาจากเกณฑ 5 ประการ นี้2.1 การอยูรอด

2.2 การใชอยางกวางขวาง

2.3 การใชมาก

2.4 การพัฒนาการคิดวิเคราะห

2.5 การพัฒนาการคิดริเริ่มสรางสรรค

3. ความสนใจของผูเรียน

4. สามารถเรยีนรูได

บูรณาการในหลักสูตร (Curriculum Integration)

การทําใหสมบูรณ สมดุล เบ็ดเสร็จในตัว

ใหผูเรียนนําไปใชประโยชนได

ประเภทของบูรณาการในหลักสูตร

• บูรณาการเชิงเนื้อหา

• บูรณาการเชิงวิธีการ

หลักการจัดประสบการณการเรียนรู

• สอดคลองกับความมุงหมาย

• การมีสวนรวมอยางกระตือรือรน (Active Participation)

• ความหมายตอผูเรียน

• สงเสรมิความคิดสรางสรรค

• สนองเอกัตภาพของผูเรียน

• สงเสรมิความสัมพันธที่ดีระหวางผูเรียน

• อยูในสมรรถนะที่เรียนรูได (Learning Capacity)

• การใชเทคนิค และสื่อผสม

หลักการจัดประสบการณการเรียนรู

• คํานึงถงึแหลงวิทยาการ

• ฝกการทํางานรวมกัน ในบรรยากาศ แบบประชาธิปไตย (กับเพื่อน /คร)ู

• สอดคลองกบัความมุงหมาย

• การมีสวนรวมอยางกระตอืรือรน (Active Participation)

• ความหมายตอผูเรยีน

ขั้นตอนในการออกแบบขั้นตอนในการออกแบบ

1.1. พิจารณาตัดสินความตองการพิจารณาตัดสินความตองการ หรือความจําเปนหรือความจําเปน

2.2. การกําหนดหรือทบทวนจุดหมายของโรงเรยีนการกําหนดหรือทบทวนจุดหมายของโรงเรยีน หรือสถาบันหรือสถาบัน

3.3. กําหนดจุดประสงคของหลักสตูรกําหนดจุดประสงคของหลักสตูร //โครงการโครงการ

4.4. ระบุวิธีการประเมินระบุวิธีการประเมิน

5.5. เลือกแผนแบบเลือกแผนแบบ//ประเภทของหลักสูตรประเภทของหลักสูตร

6.6. เลือกเนื้อหาเลือกและจัดประสบการณการเรียนรูเลือกเนื้อหาเลือกและจัดประสบการณการเรียนรู

7.7. ประเมินหลักสตูรประเมินหลักสตูร หรอืโครงการหรอืโครงการ

Recommended