20
ฉบับ 7 กลางเดือนมิถุนายน 2555 Ich habe mich Deutschland gefunden in

Singh 9 Bulletin Vol.7

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Bulletin เล่ม 7 สัมภาษณ์ใหญ่ครั้งแรก

Citation preview

Page 1: Singh 9 Bulletin Vol.7

ฉบับ 7 กลางเดือนมิถุนายน 2555

Ichhabemich

Deutschlandgefunden

in

Page 2: Singh 9 Bulletin Vol.7

วาทะกระตุกต่อมคิด

บางที อาจเพราะช่วงหลังๆ เฟื่องไม่ค่อยได้ออกงาน น้องๆเลยจำ ไม่ค่อยได้

บวช 17 นะจ๊ะ

แกีปฮิฮิ ผมสงสัยว่าแก๊ปกำ ลังส่งโทรเลขเหรอครับ ข้อความห้าพยางค์ แต่เข้าใจโดยไม่ต้องถามอะไรต่อ

Page 3: Singh 9 Bulletin Vol.7

แวะคุยกันก่อนงานในฝัน

วันก่อนเห็นเกด โพสต์วิวาทะในเพจของสิงห์เงิน 9 ไว้น่าสนใจว่า “ทำาไมกรุ๊ปเราดูแก่ขึ้นเนอะ” ซึ่งเมื่อเอามา

นั่งคิดดู มันก็มองได้สองอย่าง อย่างแรกก็คือ เป็นเรื่องแน่นอนอยู่แล้วว่าทุกคนต้องแก่ลง ไม่เคยมีใครคิดค้นเครื่อง

หยุดอายุตัวเองได้เลยซักครั้ง เพราะฉะนั้นมันจึงตามมาด้วยข้อสอง คือ เวลามันจึงเป็นสิ่งที่ไม่มีเพิ่ม มีแต่หมดไป

เรื่อยๆ เราเองก็ต่างใช้ชีวิตที่มีอยู่ไปตามวัย โดยที่ยังไม่รู้ว่าปลายทางจะสิ้นสุดลงที่หลักไมล์เท่าไหร่ จะทำาอะไรก็ทำา

มันตั้งแต่ตอนนี้ล่ะกัน

ถ้าถามว่าตอนนี้ ผมอยากทำาอะไรมากที่สุดในชีวิต คำาตอบก็คือ หางานให้ได้ซักที เพราะขณะที่นั่งปั่นต้นฉบับ

อยู่นี้ ผมยังไม่มีงานอันก่อให้เกิดรายได้ให้รับผิดชอบเสียที ในขณะที่หลายๆคนเริ่มเข้าบรรจุเป็นพนักงานของบริษัท

หน่วยงานต่างๆกันมากมายแล้ว ซึ่งมันก็สะท้อนอีกแหล่ะว่าเวลาเปลี่ยน เราแก่ จากความรับผิดชอบในการเรียน

หนังสือให้จบ ย้ายสถานะสู่การทำางานเพื่อต่อยอดความมั่นคงของชีวิตเราเอง และคนอื่นๆที่เราจะต้องรับผิดชอบต่อ

ไป ทั้งญาติพี่น้อง บุพการี และคนใกล้ตัวใกล้หัวใจ

แต่ผมก็ยังไม่สามารถย้ายสถานะสู่การทำางานได้อย่างเต็มตัว เพราะที่ทำาได้ทุกวันนี้คือร่อนใบสมัครไปยัง

บริษัทต่างๆ และนั่งกินนอนกินที่บ้าน ทำาบ้าทำาบออะไรไปเรื่อยๆ เพื่อรอ HR โทรเรียกไปสัมภาษณ์ ซึ่งจนถึงขณะนี้

เพิ่งมีคนเรียกไปสัมภาษณ์แค่ 2 บริษัทเท่านั้น และมีทีท่าว่าจะเหลวเป๋วทั้งสอง และที่อื่นๆซึ่งรอมาตั้งเดือนแล้ว ยัง

ไม่มีทีท่าว่า HR จะมีแรงบันดาลใจในการโฟนเข้าเครื่องผมซักที ก็เลยสันนิษฐานว่า คงลอยไปกับสายลมตั้งแต่ยื่นรี

ซูเม่แล้วล่ะ ความหวังก้อนใหญ่ในชีวิตที่เหลือตอนนี้คือ การสอบภาค ก. ซึ่งเสมือนพาสปอร์ตสู่ดินแดนแห่งการรับ

ราชการ ซึ่งหลายคนใฝ่ฝันที่จะเข้าไปใช้ชีวิตในนั้น เพราะสวัสดิการและความมั่นคงชนิดต่อให้เจ้านายงี่เง่าแค่ไหน ก็

ไม่สามารถไล่ลูกน้องออกโดยตรงได้เหมือนเอกชน ยกเว้นตัวลูกน้องจะประพฤติผิดร้ายแรงเท่านั้น ซึ่งถือว่าเป็นเป้า

หมายที่สำาคัญของผม แม้จะไม่ใช่ความฝันสูงสุดก็ตาม แต่อย่างน้อยก็เหมือนคนที่เรือแตกกลางทะเล แล้วพบเกาะให้

ว่ายขึ้นฝั่งได้สำาเร็จ อีกทั้งประการสุดท้ายคือ เป็นบัญชาจากเบื้องบน 2 ประการ ว่า ต้องสอบภาค ก. และ ต้องสอบ

ให้ติด

ฉะนั้นช่วงนี้ ผมจึง let it be ช่างแม่มันกับโทรศัพท์ไปแล้วเรียบร้อย และหันมานั่งปวดกบาลกับแนวข้อสอบ

ภาค ก. แทน และหากสอบภาค ก. ผ่านได้แล้ว ทีนี้ชีวิตก็จะโอเคขึ้น ในการไปลุ้นภาค ข. ภาค ค. ต่อไป

ถึงอย่างไรก็ตาม แม้จะได้เข้าสู่การเป็นข้าราชการ ที่ทำางานไป กินอายุข้าราชการ เพื่อจำานวนเงินบำานาญที่

มากขึ้นในวันหน้า แต่ความฝันสูงสุดของผมยังคงฝังตรึงอยู่ในหัวกบาล นั่นคือการตายไปในฐานะนักเขียนอาชีพ ซึ่ง

เอาเข้าจริงแล้ว เราก็สามารถรับราชการในตอนกลางวัน และนั่งเขียนหนังสือในตอนกลางคืนได้ เพราะนักเขียน

อาชีพในเมืองไทย น้อยคนที่จะดำารงชีพด้วยการเขียนหนังสือแลกเงินเพียงอย่างเดียว ขนาดนิ้วกลมตอนที่ยังไม่ดัง

มากนัก ต้องทำางานโฆษณาตอนกลางวัน เขียนหนังสือตอนกลางคืน จนเมื่อมีชื่อเสียง ได้ออกหนังสือปีสองเล่มเป็น

อย่างต่ำา ได้โอกาสออกอีเวนต์ ไปพูดที่นู้นที่นี่ ถึงผันมาเขียนหนังสือได้เต็มตัว

Page 4: Singh 9 Bulletin Vol.7

แต่นอกจากการเขียนหนังสือที่ตั้งใจจะทำาให้เป็นอาชีพให้ได้แล้วนั้น ยังมีความฝันเกี่ยวกับการประกอบอาชีพอีก

อย่างหนึ่งของผม ที่จัดว่าเป็น “อาชีพในฝัน” เลยทีเดียว นั่นคือการได้ทำางานที่ไหน เวลาไหนก็ได้ หรือที่เรียกคร่าวๆว่า

ฟรีแลนซ์

ประเด็นเป็นอย่างนี้ครับ ผมเคยผ่านการฝึกงานทั้งในภาคบังคับและสมัครใจมาแล้ว 2 ที่ ซึ่งเพียงพอที่จะทำาให้

ผมเข้าใจวิถีของมนุษย์เงินเดือน ที่ต้องแหกขี้ตาตื่นแต่เช้า เพื่ออาบน้้ำาแต่งตัวถ่อไปสำานักงานโดยเร็ว เพื่อหลีกเลี่ยงการตัด

เงินเดือน ไอ้ตื่นเช้ามันยังไม่ปวดติ่งเท่ากับการไปติดแหงกบนท้องถนน หรือไปอัดเป็นปลากระป๋องบนรถสาธารณะบนดิน

ใต้ดิน และเหนือดิน ทั้งขาไปและขากลับ ซึ่งทำาให้ผมสงสัยอยู่หลายครั้ง โดยเฉพาะตอนประสบเหตุดังกล่าวว่า มนุษย์เงิน

เดือนเหล่านี้ทนไปได้ไง (รวมถึงกูด้วย ว่าทนไปได้ไง) นอกจากนี้ ในแง่ของการที่รถติดบนท้องถนนเป็นชั่วโมงสองชั่วโมง

มันทำาให้ผมรู้สึกเสียดายเวลาที่ต้องมานั่งหน้ามุ่ย พยายามสะกดจิตใส่สัญญาณไฟให้มึงเขียวเร็วๆ เป็นสองชั่วโมงที่เสียไป

โดยไม่ได้ทำาอะไรเลย และยังไม่นับกับความกดดันภายในองค์กรต่างๆ ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ ไม่ใช่ว่าผมไม่สู้งานหนัก หรือ

จะเกาะใครกิน แต่ผมรู้สึกว่า ถ้าจะเกิดมาเป็นคนทำางานหนัก คุณภาพชีวิตต่างๆก็ควรจะได้รับตอบแทนอย่างดีด้วย ไม่ใช่

ต้องตื่นมาพบกับการแออัดยัดเยียดสารพัดอย่าง

ผมอยากตื่นมาในห้องนอน แล้วแปลงโฉมเป็นห้องทำางานได้เลย เพียงลุกขึ้นมา กระพริบตาสองที ก็เดินไป

อีก 5 เมตร เพื่อเปิดคอมพ์ของตน เริ่มต้นทำางานได้เลย โดยการเช็คเมลล์ว่ามีใครส่งงานอะไรมาให้บ้าง ในขณะที่

หลายคนกำาลังประสาทแดกบนท้องถนน แต่ผมสามารถโหลดงานจากเมลล์ ขณะที่รอโหลด ก็ลงไปชงกาแฟที่ห้อง

ครัว เพียงไม่กี่อึดใจ ก็ถือกาแฟร้อนๆขึ้นมาจิบ พลางเปิดงานมาดู แล้วหลังจากนั้นก็เริ่มโซ้ยงานได้ ขณะที่ทำาๆไป

เริ่มหิวก็อาจลงไปหาอะไรกินหรือเดินออกไปซื้อของในเซเว่นใกล้บ้านท่านได้บางทีทำางานที่บ้านเบื่อๆก็แบกคอมพ์

ออกไปนั่งทำางานที่ห้างหรือร้านอาหารต่างๆก็ยังได้ ไม่ต้องมีใครมายืนคุมว่าคุณจะแอบเปิดเฟซบุ๊กหรือไม่คุณเป็น

เจ้านายตัวคุณเอง เปิดตอนไหนก็ได้ แต่ความรับผิดชอบต้องมี งานต้องเสร็จตามเวลา เมื่อทุกอย่างเรียบร้อย ก็ส่ง

งานและรอเงินเข้าบัญชีจากนั้นก็โหลดงานชิ้นต่อไปขึ้นมาทำา

หลังจากอ่านย่อหน้าที่แล้วจบไป คุณอาจคิดว่า มันดูเป็นอุดมคติเกินกว่าที่ชีวิตจริงจะมีได้ใช่มั้ยครับ แต่

บอก ณ ตรงนี้เลยว่า มันเกิดขึ้นได้และเกิดขึ้นอย่างแพร่หลายแล้วในหลายๆประเทศทางฟากตะวันตก เนื่องจาก

ยุคนี้อินเตอร์เน็ตมันเชื่อมโลกได้ทุกพื้นที่ ดังนั้นการรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง แม้จะห่างไกลก็ทำาได้เร็วและ

ง่ายมาก ดังนั้นทางฝั่งตะวันตก จึงเริ่มคิดแล้วว่า ถ้าอย่างนี้ เรามาใช้พลังของอินเตอร์เน็ตให้เป็นประโยชน์ จึงเกิด

อาชีพฟรีแลนซ์มากขึ้นเรื่อยๆในระยะหลัง โดยบริษัทที่ต้องการคนมาทำางานให้ ก็สามารถให้งานเหล่านีกับฟรีแลนซ์

ไปทำาได้โดยฟรีแลนซ์ในแต่ละสาขาจะเอาผลงานของตัวเองไปลงไว้ในเว็บแสดงผลงานต่างๆอย่างงานศิลปะงาน

ถ่ายภาพ ก็มักนิยมไปลงไว้ในเว็บพอร์ตฟลอริโอที่จะจัดแสดงภาพของผลงานไว้อย่างเป็นระเบียบ หรือพวกที่ทำางา

นวิดิโอหรือกราฟฟิคดีไซน์แม้กระทั่งนักร้องที่อยากเข้าวงการก็โพสต์คลิปตัวเองลงยูทูปซึ่งก็เหมือนเป็นการอัพรีซู

เม่ผลงานของตนลงไปในเว็บเหล่านี้

Page 5: Singh 9 Bulletin Vol.7

เชื่อเถอะว่า พวกบริษัทต่างๆเขาจะรู้ที่ทางว่า ถ้าต้องการคนมาทำางานชิ้นนี้ จะต้องไปหาดูจากเว็บไหน

และเมื่อถูกใจงานของใคร ก็จะติดต่อเจ้าของชิ้นงานให้มารับงานที่ตนมีอยู่ไปทำา ซึ่งแน่นอนว่าจะประหยัดค่าใช้

จ่ายในการจ้างคนทำางานไปได้เพราะหากจ้างพนักงนประจำาก็ไม่แน่ว่าจะทำางานได้น่าพอใจหรือไม่แต่หากพบคน

ที่ถูกใจก็สามารถจ้างได้เลยโดยค่อนข้างจะมั่นใจว่างานที่ออกมาจะตรงกับที่ต้องการส่วนพวกฟรีแลนซ์ เมื่อได้

งานมาทำาก็สามารถทำางานได้โดยไม่มีข้อจำากัดด้านเวลาและสถานที่ อย่างที่บอกว่าสามารถหอบงานไปทำาที่ไหน

ก็ได้ตอนไหนก็ได้ซึ่งทำาให้ยานพาหนะแบบhomecarอันหมายถึงรถที่มีสภาพภายในคล้ายบ้านจึงเป็นที่นิยม

มากขึ้นเพราะฟรีแลนซ์เหล่านี้จะหอบงานของตนไปทำาขณะที่นั่งเล่นริมชายหาดที่ไหนซักแห่งในโลกก็ได้ด้วย

ผลสะท้อนก็คือ เมื่อมีฟรีแลนซ์มากขึ้น คนจ้างก็กล้าจ้าง และมีทีท่าว่าจะจ้างคนเหล่านี้ทำางานมากขึ้น

ประหยัดต้นทุนไปได้มากแนวโน้มที่งานจะลอยขึ้นไปบนอากาศรอให้ฟรีแลนซ์โหลดลงมาทำามากกว่าที่จะกองบน

โต๊ะก็มีมากขึ้น

ขณะที่เมืองไทย วิถีฟรีแลนซ์ยังกระจุกตัวในวงแคบ และยังไม่มีประสิทธิภาพ เพราะยังเคยชินอยู่กับการ

มีคนอื่นเป็นเจ้านาย ไม่สามารถเป็นเจ้านายตัวเองได้ ยังมองว่าฟรีแลนซ์คือพวกเลื่อนลอย ไม่มีการงานเป็นหลัก

แหล่งไปสู่ขอลูกสาวบ้านไหนคงไม่ได้รับการพิจารณารวมถึงยังอ่อนเรื่องข้อตกลงระหว่างฟรีแลนซ์กับผู้จ้างที่ยัง

ไม่มีองค์ความรู้มากนักที่สำาคัญที่สุดคือการรับงานมาทำาแล้วทำาไม่เสร็จหรือล้าช้าสมกับสันดานไทยโดยแท้เลย

ไม่ค่อยมีใครเชื่อถือฝีมือฟรีแลนซ์ไทย

โอกาสของฟรีแลนซ์จึงยังมืดมนในบ้านเมืองที่ค่อยๆพัฒนาแห่งนี้ ขณะที่บ้านอื่นเมืองอื่น กำาลังใช้ข้อได้

เปรียบจากโลกไร้สายอย่างหนักหน่วงเราก็ได้แต่แหกขี้ตาตื่นไปเบียดเสียดไปติดแหงกไปโหมกำาลังทำางานจนไม่

เหลือเวลาทำาอย่างอื่นในชีวิตและเวลาก็หมดไปโดยที่ไม่ได้ทำาอะไรให้ตัวเองเลยดักดานกันไปในเมืองดัดจริตชีวิต

ต้องป๊อป

อยู่บ้านเมืองแบบนี้ นอกจากเป้าหมายสำาคัญอย่างนักเขียนอาชีพที่ต้องเลือดตาแทบกระเด็นกันหน่อยแล้ว

ฟรีแลนซ์ในฝันก็คงปรากฎอยู่ได้เฉพาะในความฝันต่อไป

ขอบคุณที่ใช้บริการ

ดามันสกี้

30พฤษภาคม2555

ขอบคุณเนื้อหาเกี่ยวกับฟรีแลนซ์บางส่วน จาก คุณ คุณนิติ นวรัตน์ คอลัมน์เปิดฟ้าส่อง

โลกเรื่องฟรีแลนซ์มาแรงหนังสือพิมพ์ไทยรัฐฉบับวันอังคารที่22พฤษภาคม2555

Page 6: Singh 9 Bulletin Vol.7

สมาชิกใหม่สิงห์เงิน#13ร่วม120ชีวิตดูจากรุปนี้แล้วใครมี

เรื่องกับสิงห์เงินอาจถึงตายเพราะจำานวนประชากร

ภาพโดยBrowniiesMeunpasan

Page 7: Singh 9 Bulletin Vol.7

ฉบับ 7 กลางเดือนมิถุนายน 2555

Produced by Adobe InDesign4

Product of Damansky Republic @2012

Page 8: Singh 9 Bulletin Vol.7

นิวส์มอนิเตอร์

ผลสำารวจเผยเด็กสิงห์เงิน9ร้อยละ40คิดไปเองว่า

วันที่12มิถุนายนต้องรีบตื่นแต่เช้าเพื่อไปเรียนเทอมใหม่

บางกรณีจิ้นถึงขั้นฝากเช็คชื่อให้กัน

จิ๊บ เผยช่วงนี้ป่วยด้วยโรคประหลาด มักครั่นเนื้อครั่น

ตัวเวลาเห็นนิสิตหนุ่มๆ ด้านหมอวินิจฉัย สันนิษฐานว่า

เป็นเพราะอาการแพ้...“แพ้ชุดเครื่องแบบ”

นายทุนหลายสิบราย จ้องติดต่อ นิคกี้ ไปเป็นดีเจคลื่นวิทยุ หลังเห็นฟอร์มการเป็นดีเจในเฟซบุ๊กมานานด้านนิคกี้เผยว่าที่มีวันนี้ได้ เพราะมะใหม่ช่วยกดไลค์ไปเยอะ

แก๊ปฮิฮินาค16บวช17เดือนนี้ใครจะไปร่วมงานเช็คชื่อกันที่เพจสิงห์เงิน9

Page 9: Singh 9 Bulletin Vol.7

เตรียมตัวรับศึกภาคก. ใบเบิกทางสู่ดินแดนข้าราชการ

หลังจากที่สำานักงานข้าราชการพลเรือน หรือ กพ.

เปิดรับสมัครสอบ ภาค ก. ที่เปรียบเสมือนการสอบจอหงวน

เวอร์ชั่นไทยแลนด์ โดยเปิดรับตั้งแต่เมื่อเดือนพฤษภาคมที่

ผ่านมา จนกระทั่งหมดเขตรับสมัครไปเรียบร้อยแล้ว จาก

จำานวนที่รับสัมครได้สูงสุด 900,000 คน มีคนเข้าร่วมสอบ

กว่า600,000 คน สถานที่สอบที่เป็นที่นิยมสูงสุดคือ กรุงเทพฯ

และปริมณฑล ซึ่งรับคนสมัครได้ 120,000 คน เต็มหมดทุกที่นั่ง ส่วนพื้นที่ภาคเหนือเหลือที่ว่างสอบมากที่สุด โดยเฉพาะศูนย์สอบ

นครสวรรค์ ซึ่งมีคนสอบเพียงครึ่งเดียว เท่าที่ผมเคยถามคนในซอยบ้านผม พบว่าแทบทุกคนในซอยทุกสาขาทุกอาชีพ ไล่ตั้งแต่คนเย็บผ้า

โหล ลูกสาวเฮียร้านข้าวมันไก่ ไปจนถึงพนักงานเซเว่น ต่างก็ลงสอบภาค ก. กันทั้งนั้น รวมทั้งเพื่อนๆเราหลายคน ที่ตอนนี้กำาลังนั่งอ่าน

เฉลยภาค ก. กีนอย่างหนักหน่วง

จากจำานวนคนเข้าร่วมประลองยุทธ์กว่า 600,000 คน น่าจะทำาให้เราพอเห็นภาพว่า คนอยากเข้าทำางานข้าราชการมีมากมายแค่

ไหน แต่ยังดีที่ภาค ก. เป็นการสอบแข่งกับตัวเอง ไม่เกี่ยวว่าต้องการคนคะแนนสูงสุดกี่อันดับ ขอแค่ตอบให้ถูกเกินร้อยละ 60 ของข้อสอบ

ทั้งหมด 200 ข้อ ซึ่งก็ต้องทำาให้ได้ 120 ข้อเป็นอย่างต่ำาถึงจะผ่านเกณฑ์

ซึ่งวันที่ 12 กรกฎาคม เป็นต้นไป ทาง กพ. จะประกาศรายชื่อผู้สมัครสอบภาค ก. วัน เวลา สถานที่สอบ และระเบียบเกี่ยวกับ

การสอบต่างๆ ซึ่งจากนี้อีกนับเดือน เชื่อว่าหลายคนคงเตรียมตัวกันอย่างเข้มข้น เพื่อผ่านด่านหลัก 2 ด่านคือ ความรู้ความสามารถทั่วไป

กับภาษาไทย ซึ่งจากการได้ลองอ่านแนวข้อสอบมาบ้างตั้งแต่ระดับ 1-4 แน่นอนว่าความรู้ความสามารถทั่วไปที่มีเลขอนุกรม และหลัก

การใช้เหตุผลต่างๆ ที่มีเงื่อนไขเป็นข้อความต่างๆมาให้ ค่อนข้างยาก แม้ในข้อสอบจริงอาจจะมีข้อสอบประเภทละ 10 ข้อ เป็นอย่างมาก

แต่ถ้าเกิดพลาดไปทั้ง 10 ข้อ คะแนนที่หายไปมันก็น่าเสียดายเหมือนกัน รวมทั้งสูตรเลขต่างๆ ทั้งสูตรหาเรขาคณิต สูตรคำานวนดอกเบี้ย

และอื่นๆ ที่ผมอ่านในหนังสือซึ่งมีผู้ใหญ่เคยบอกผมว่า ตอนที่ท่านสอบราชการ (แต่ไม่ใช่ของ กพ.) พวกสูตรเรขาคณิตก็มีค่อนข้างเยอะ

แต่ที่แปลกคือ จะต้องมีข้อที่ให้หาสูตรสามเหลี่ยมด้านไม่เท่าแทบทุกครั้ง แต่ไปหาสูตรจากหนังสือเล่มไหน ก็ไม่มีอธิบายสูตรสามเหลี่ยม

ด้านไม่เท่าเลย ซึ่งผมไปหาในหนังสือหลายๆเล่มก็ไม่มีเช่นกัน แม้การสอบของผู้ใหญ่ท่านนี้จะผ่านมานานร่วมสิบๆปีแล้ว แต่ลองหาสูตร

สามเหลี่ยมด้านไม่เท่าเผื่อไว้ก็ดี ถ้ามีในข้อสอบก็ทำาได้ ถ้าไม่มีก็จำาไว้ให้เปลืองแรมก็ยังดี

ส่วนภาษาไทย ถือซะว่าเป้นการทวนความทรงจำาสมัยเรียนประถม-มัธยม ที่ต้องท่องจำาสุภาษิต คำาพังเพย ความทรงจำาในการ

คัดคำาไทย คำายากต่างๆ รวมทั้งหลักไวยกรณ์ต่างๆที่จำาแต่ไม่ค่อยได้ใช้ในชีวิตจริง ตรงนี้ก็อาจเป็นตัวฉุดคะแนนในทัศนะของผมได้เช่นกัน

อย่างพวกคำายาก แค่เราจำาพยัญชนะผิดตัวเดียว กาข้อผิด ก็หายไปแล้วหนึ่งคะแนน ก็ต้องเตรียมตัวกันให้ดีๆ

ระหว่างที่เตรียมสอบ ภาค ก. อยู่ช่วงนี้ ก็มีข่าวการทุจริตการสอบตำารวจนายสิบ เสียค่าจ้างยิงข้อสอบผ่านสัญญาณของเครื่องสั่น

เป็นแสนๆ คนพยายามโกงก็ยัดเครื่องเหล่านี้เข้าไปในง่ามตูด หรือยัดในกางเกงลิงของตน แล้วโดนจับไปร่วมกว่าร้อยคน ถึงแม้จะไม่ใช่การ

สอบแบบภาค ก. ที่จะผ่านไม่ผ่านขึ้นอยู่กับคะแนนที่ตัวเองทำา แต่ผมก็อยากบอกว่า ของอย่างนี้ซื่อสัตย์ต่อตัวเองดีที่สุด ถ้ามำาไม่ได้ก็ไม่

ต้องไปอ้อนวอนใคร ควรหันมาเขกกระโหลกตัวเองดังๆซักสามสี่ที

ว่าแต่ใครมีอะไรเคลื่อนไหว ก็เอามาแชร์ๆกันหน่อยล่ะกัน จะได้ช่วยกันผ่านภาค ก. ให้ยกเซ็คไปเลย ส่วนผมและทีมงานก็จะ

พยายามมาอัพเดตข้อมูลให้เรื่อยๆ ผ่านช่องทางต่างๆนะครับ

Page 10: Singh 9 Bulletin Vol.7

สิงห์ Gadget

รวมโบราณวัตถุทรงคุณค่าในอดีตของสิงห์เงิน # 9

เข็มกลัดสิงห์เงิน

หากใครยังจำาสมัยที่เข้ามาเรียนปีหนึ่งได้หมาดๆสิ่งหนึ่งที่เราต้องเผชิญในตอนนั้นก็คือพี่รุ่น

8ที่เข้ามาทำาหน้าที่ดูแลรุ่นพวกเราในเรื่องต่างๆเอาเสื้อมาขายบ้างมาล้อมกรอบบ้างไม่ว่าเรื่องราว

ที่เกิดขึ้นจะทำาให้เรามีทัศนคติต่อพี่รุ่น8อย่างไรแต่สิ่งหนึ่งที่ผมชอบมากๆที่พี่รุ่น8ทำาให้ก็คือเข็ม

กลัดสิงห์เงินนี่แหล่ะครับ

ผมได้รับแจกเข็มกลัดอันนี้ตอนที่ปฐมนิเทศรัฐศาสตร์ด้วยความที่ชอบสะสมเข็มกลัดลวดลาย

สวยๆหรือถ้าเป็นนักสะสมต่างประเทศจะเรียกว่าพิน(ซึ่งเป็นคนละอย่างกับพินแบล็คเบอร์รี่)แล้ว

ได้รับเข็มกลัดชิ้นนี้ก็รู้สึกว่ามันสวยและเหมือนเป็นของขวัญชิ้นแรกที่ได้รับในการเข้ามาเป็นสมาชิก

ใหม่ของสิงห์เงิน

เข็มที่เห็นในภาพนี้จริงๆแล้วไม่ใช่อันที่ได้รับจากงนปฐมนิเทศอย่างทีผมกล่าวไปหรอกครับ

เพราะอันนั้นหลังจากได้มาไม่ถึงอาทิตย์เอาไปติดด้านหลังกระเป้าเป้สีแดงแต่วันดีคืนดีมันก็หายไป

อย่างไม่ทราบสาเหตุอันที่เห็นในภาพได้มาจากงานสัมมนา“ฤระบอบทักษิณจะล่มสลาย”ซึ่งจัดที่

ชั้น8สมัยที่รัฐศาสตร์ยังสถิตอยู่ณจุดนั้นซึ่งพี่รุ่น8เอาเข็มกลัดรุ่นนี้ที่เหลือเอามาขายผมเลยซื้อ

มาในราคา20บาทและเก็บไว้อย่างดีในตู้ที่บ้านจนกระทั่งปัจจุบัน

แล้วคุณล่ะยังมีเข็มกลัดสิงห์เงินอยู่กับตัวหรือเปล่า

Page 11: Singh 9 Bulletin Vol.7

สารพัดห้องเชียร์

ของสามชิ้นที่เห็นอยู่ด้านบนนี้ คือหลักฐานของการเคยผ่านช่วงเวลาของห้องเชียร์มาก่อน แม้จะ

ไม่ได้เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเดินเข้าไปรวมตัวกันในหอประชุมยามเย็น เพื่อให้พี่อะไรมากมายมายืน

ล้อมกรอบแต่ของสามอย่างนี้เมื่อหยิบมาดูทีไรก็ทำาให้นึกถึงห้องเชียร์ทุกครั้ง

เริ่มจากสองอันบนเป็นป้ายชื่อที่ถูกสั่งให้ทำาและต้องคล้องคอทุกคนเพื่อเป้นการแสดงตนว่าชื่อ

อะไรเวลาเจอหน้ากันจะได้จำาชื่อกันได้เหตุที่มีสองแบบเพราะแบบแรกคืออันทางซ้ายถูกทำาขึ้นมาแล้ว

เอาให้รุ่นพี่ตรวจปรากฎว่าไม่ผ่าน เลยให้ทำาอันใหม่เป็นแบบที่สองคืออันขวาซึ่งถามว่าผมเคยเอาป้าย

พวหนี้มาคล้องมั้ย ก็คล้อง ทำาไปเพราะมีคนสั่งให้ทำา แต่ถามว่าเข้าใจบ้างมั้ยว่าทำาไปทำาไม ก็ตอบตัว

เองไม่ได้ จนกระทั่งวันหนึ่งก็ตัดปัญหาโดยไม่คล้องแมร่งเลย ก็ไม่เห็นจะเป็นปัญหา คือบางครั้งเรามีกฎ

ระเบียบที่ต้องปฏิบัติตาม แต่ทำาให้กูเคลียร์ก่อนว่า เหตุผลที่สมควรประการใดที่จะทำาให้ผมต้องปฏิบัติ

ตามทำาแล้วมันให้อะไรกับสังคมบ้าง

ส่วนสมุดที่เห็นด้านซ้ายล่าง เป็นสมุดที่แต่ละคนจะได้รับคนละเล่มเพื่อเอาไปฝึกร้องเพลงต่างๆ

รวมทั้งใช้จดชื่อเพื่อนในแต่ละบ้าน ที่จะนำาเอาเด็กแต่ละภาคมาคละรวมกันแต่ละบ้าน เพื่อทำากิจกรรม

ร่วมกันซึ่งก็ได้ผลบ้างไม่ได้ผลบ้างอย่างบ้านผมแม้จะจดชื่อกันไปในสมุดแต่พอหมดห้องเชียร์บุคคลที่

ว่านี้ก็ไม่เคยได้ทำากิจกรรมอะไรร่วมกันอีกเลย(รวมถึงผมด้วย)

แล้วคุณล่ะยังมีของสามอย่างเพื่อระลึกถึงห้องเชียร์อยู่กับตัวหรือเปล่า

Page 12: Singh 9 Bulletin Vol.7

Cover Story

Ich habemich

Deutschlandgefunden

in

ผมเคยป่าวประกาศไว้ตอนที่เอา Bulletin เล่มที่แล้ว หน้า

ปกหัวหิน ไปวางในเพจสิงห์เงิน 9 ให้ได้โหลดกันไว้ว่า แม้พวกเราจะ

แยกย้ายกันไปแต่Bulletinจะยังไม่แยกย้ายตามตรงกันข้ามจะยัง

เป็นสื่อที่พยายามหาทางรวมพวกเราเอาไว้ให้รู้สึกว่า ไม่เคยห่างไกล

ไปไหน

ผมเชื่อเสมอว่า ด้วยอานุภาพของหน้าหนังสือแต่ละหน้าที่

ผมผลิตขึ้น มันน่าจะเป็นกระบอกเสียงที่ทำาให้เรายังได้รับรู้ข่าวสาร

อะไรร่วมกันอยู่บ้าง อาจมีอานุภาพมากกว่า รอใครซักคนมาอัพเดต

ในหน้าเพจที่นานๆที่จะมีการเคลื่อนไหว แต่สิ่งหนึ่งที่ปรากฎขึ้นก็คือ

หลังจากวางเล่มหัวหินพร้อมคำาประกาศทิ้งท้ายไปนั้น เมื่อมานั่งเช็ค

ตารางงานอีกทีก็พบว่าสิงห์เงิน9ของเราไม่มีกิจกรรมที่จะรวมตัวกัน

ขนานใหญ่ได้อีกแล้วนี่หว่า ยกเว้นใครซักคนจะอุตริจัดมหกรรมรวม

ญาติขึ้นมาซึ่งก็คงจัดได้ไม่บ่อยรวมทั้งแต่ละคนต่างพุ่งทะยานออกไป

เริ่มต้นดำาเนินชีวิตเป็นของตัวเอง นั่นหมายความว่า ต่อให้ผมผลิตสื่อ

ขึ้นมา แต่เมื่อไม่มีกิจกรรมที่พวกเราทำาร่วมกัน ถามว่าจะเอาอะไรมา

เขียนนั่นจึงเป็นที่มาของสิ่งที่ท่านกำาลังเห็นอยู่นี่

ขออณุญาตระลึกชาติกันอีกซักเล็กน้อย ผมจำาได้ว่าตั้งแต่ทำา

หนังสือหัวต่างๆเรื่อยมาสิ่งหนึ่งที่ยังไม่เคยทำาคือการทำาบทสัมภาษณ์

ชิ้นใหญ่ เนื่องจากแต่ก่อน เขียนแค่บทความ สกู๊ปต่างๆที่คิดเอง ทำา

เนื้อหาเอง ร่ายตัวอักษรเอาเอง เป็นงานที่เริ่มเอง จบเอง ไม่มีใครมา

เกี่ยวข้องแต่ยังไม่เคยทำาบทสัมภาษณ์ชิ้นใหญ่ๆที่ต้องมีการเตรียมตัว

หาประเด็น รวมทั้งนัดแนะ ผู้ที่เราต้องการสัมภาษณ์ เชิญเขาออกมา

นั่งคุยและกลับมาถอดเทปทำากันเป็นเรื่องเป็นราวขนาดนั้น *** หมายเหตุ : คำาว่า Ich habemich inDeutschland

gefunden เป็นภาษาเยอรมัน มีความหมายเดียวกับ when I found

myselfinGermanyในภาษาอังกฤษ***

Page 13: Singh 9 Bulletin Vol.7

อย่างเก่งก็แค่เคยทำาสัมภาษณ์ชิ้นเล็กตอนที่เริ่มทำาPol.Sci.Annualเล่มแรกเมื่อตอนปีหนึ่งดังนั้นผมจึงคิดว่านี่จะเป็นทางออกที่ดีในการ

ทำาให้หนังสือเล่มนี้ยังดูมีอะไร และอยู่คู่สังคมสิงห์เงิน 9 ไปอีกนาน รวมทั้งเป็นความท้าทายใหม่ในการเขียนหนังสือ ที่คราวนี้ต้องมีคนอื่น

เข้ามาเกี่ยวข้องอย่างเต็มตัวก่อนเลยเริ่มต้นที่จะลอง

และดูเหมือนว่าฤกษ์เริ่ม ประเดิมบทสัมภาษณ์ชิ้นใหญ่ครั้งแรกนี้ ผมมีตัวเลือกในหัวมากมาย แต่ละคนมีประเด็นต่างๆที่ผมสนใจ

แต่ที่สุดก็ต้องหลีกทางให้กับเรื่องราวของผู้หญิงคนหนึ่ง ความไม่ธรรมดาที่ถึงขั้นต้องแมสเสจเฟซบุ๊กไปอัญเชิญเธอออกมาจากบ้านนั้น

เพราะว่าในช่วงเดือนที่ผ่านมา เธอผู้นี้ได้มีโอกาสไปใช้ชีวิตในต่างแดนณประเทศเยอรมันเป็นเวลา 3 สัปดาห์ เป็นการไปเรียน-เที่ยว-ใช้

ชีวิตในส่วนผสมที่เท่ากัน ซึ่งแน่นอนว่าการออกไปเจอโลกกว้างที่ต่างประเทศ ถือว่าน่าสนใจแล้ว การไปใช้ชีวิตที่ต่างประเทศ 3 สัปดาห์

เต็มๆซึ่งต่างจากการไปเที่ยวเพียง3วัน2คืนมันย่อมไปรู้ไปเห็นอะไรที่มันต่างไปจากที่คุ้นเคยในสังคมไทยและขึ้นชื่อว่าสังคมเยอรมัน

เป็นสังคมคุณภาพซึ่งชาวไทยโลกสวยหลายคนถวิลหาจึงน่าเอามาศึกษาว่าเขาอยู่กันยังไงถ้าชาติเราจะเป็นอย่างเขาจะเป็นได้ในภพชาติ

ไหนและแน่นอนว่าการเดินออกไปหาโลกกว้างมันง่ายพอๆกับการเดินออกไปหน้าปากซอยบ้านหรือไม่สำาคัญที่สุดว่ามันทำาให้เธอเติบโต

ขึ้นมากแค่ไหน

และเธอคนนี้ปูเป้กนิษฐ์ยามนคงเขษมจะเป็นผู้ขนเรื่องราวกองใหญ่มาบอกเล่าให้ฟัง

หลังจากที่เธอกลับมาจากเยอรมันได้ซักพัก ทีมงานติดต่อเธอไปทันที และหลังจากเตรียมตัวขั้นตอนต่างๆ เราก็ได้มีโอกาสมานั่ง

คุยกันในบรรยากาศสบายๆซึ่งดูเหมือนโจทย์การสัมภาษณ์ ไม่ได้ทำาให้มีอาการกังวลใดๆ ต่างไปจากผู้สัมภาษณ์ ซึ่งพยายามจะทำาให้การ

พูดคุยครั้งนี้ไม่เหมือนกับการสอบปากคำาอยากให้เหมือนอารมณ์นักเดินทางไกลที่กลับมาเล่าเรื่องราวสนุกสนานให้คนในหมู่บ้านได้ฟัง

จนกระทั่งองค์ประกอบโดยรอบเริ่มลงตัวทันทีที่กดปุ่มบันทึกเทปการสนทนาก็เริ่มต้นขึ้น

ครั้งสุดท้ายที่ผมเห็นหน้าเป้ ก็ตอนถ่ายรูปหมู่ที่สนามหญ้า ตอนปี

สามครึ่ง แต่หลังจากจบสามปีครึ่ง เป้ก็หายไปจากบรรณภิภพ ถามว่าตอนนั้น

คุณไปทำาอะไรมาบ้าง เป้บอกว่า

“ก็ทำ�พ�ร์ทไทม์ข�ยเสื้ออยู่ที่ ยูนิโคล่ เซ็นทรัล แกรนด์ พระร�ม

เก้� ห�ทุนให้กับชีวืต หรือไม่ก็ไปเที่ยวกับเพื่อน ชีวิตยังเพื่งจะเริ่มต้น ไม่มี

แก่นส�รม�กม�ย”

“จนกระทั่งอ�จ�รย์ที่เคยสอนวิช�โทเยอรมัน ม�ติดต่อว่�ตอนนี้มี

โครงก�รไปเรียนที่เยอรมันระยะสั้นส�มสัปด�ห์ สนใจจะไปมั้ย ซึ่งโดนส่วน

ตัวอย�กไปต่�งบ้�นต่�งเมืองม�น�นแล้ว แต่ในเวล�นั้นก�รตัดสินใจค่อน

ข้�งกระชั้นชิด เพร�ะจะต้องส่งร�ยชื่อแล้ว ก็เลยตัดสินใจไป ซึ่งก็ได้เป็น

คนสุดท้�ยพอดี อ�จ�รย์อธิบยเสริมว่� โครงก�รนี้เป็นโครงก�รที่ทำ�ขึ้นม�

น�นแล้ว ก�รไปก็อ�รมณ์เหมือนไปเรียนภ�คฤดูร้อน ก็เลยน่�สนใจ แล้วก็มี

เรื่องโชคดีอีกอย่�งหนึ่งคือพ่อให้ไป ซึ่งก็ค่อนข้�งประหล�ดใจอยู่เหมือนกัน

เพร�ะตอนแรกที่ไปเสนอโครงก�รนี้ ยังคิดว่�โอก�สไปคงน้อยกว่�ไม่ได้ไป”

“หลังตอบรับว่�จะไป ก็ใช้เตรียมตัวไม่น�น หนึ่งเดือน ตั้งแต่

ตัดสินใจว่�จะไป บ�งทีก็ตั้งตัวไม่ทัน แต่เป็นสิ่งที่อย�กไปม�น�นแล้ว เคย

จะได้ไปหล�ยทีแล้ว แต่ก็ติดอะไรหล�ยอย่�ง เพิ่งจะมีโอก�สก็คร�นี้ ด้วย

อะไรหล�ยๆอย่�ง แม้จะต้องออกเงินไปเอง แต่ก็ถูกกว่�และคุ้มกว่�ซื้อทัวร์

เพร�ะไปเรียนด้วยไปเที่ยวด้วย ได้สองอย่�งในทริปเดียว”

ทางเดินในเมืองไฟร์บวร์กเส้นเดียวกับที่เป้เดินเท้า

ไปเรียนที่โรงเรียนทุกวัน

กนิษฐ

์ยามน

’s P

hoto

Page 14: Singh 9 Bulletin Vol.7

“คือในชีวิตไม่เคยออกต่�งประเทศเลย ครั้งนี้คือครั้งแรก

โดยจะเดินท�งไปที่เมืองไฟร์บวร์ก แห่งแคว้น บ�เดิน-วุทเท่นแบร์ก

ท�งตะวันตกเฉียงใต้ของเยอรมัน ใกล้ช�ยแดนสวิตเซอร์แลนด์และ

ฝรั่งเศส” (อ่�นร�ยละเอียดเมืองไฟร์บวร์กในล้อมกรอบ)

แล้วคิดว่าก่อนไป คาดว่าจะต้องไปเจออะไรบ้าง

“ก�รใช้ชีวิตที่ต่�งกัน อ�ก�ศ อ�จ�รย์เล่�อะไรให้ฟัง ก�ร

ที่ไปอยูกับโฮสต์ บ�งครั้งอ�จไม่ได้เจอโฮสต์ที่ดี แม้โฮสต์จะสมัคร

ใจที่จะเปิดรับเด็กเข้�ม�อยู่ด้วยก็ต�ม เพร�ะนิสัย ก�รใช้ชีวิตต่�ง

กัน คุณไปเจอแบบไหน ก็ต้องปรับตัว ไม่ได้ค�ดว่�จะเจออะไร แต่

เมื่อไปก็ต้องไปลองใช้ชีวิตเอง ทุกอย่�งคุณจะต้องตัดสินใจเอง กลุ่ม

คนไทยที่ไปมี 7 คน อยู่บ้�นละ 2 คน แต่เป้อยู่คนเดียว ดีหน่อยที่

โรงเรียนที่เรียนก็อยู่ใกล้บ้�น เวล�ไปก็เดินไป”

24 ชั่วโมงในของคุณที่นู้น ทำาอะไรบ้าง

“จันทร์ถึงศุกร์ เริ่มเรียนเก้�โมงถึงเที่ยงครึ่ง ที่โรงเรียนสอง

ภ�ษ� ESL International School กินข้�วที่โรงอ�ห�รของมห�

ลัย ช่วงบ่�ยมีทริปเดินท�งไปเมืองต่�งๆ หรือเดินเล่นในเมือง ต�ม

ตรอกซอกซอยต่�งๆ ตอนเย็นๆทำ�ก�รบ้�น เส�ร์-อ�ทิตย์ ไปเที่ยว

ข้�งนอก ข้�มพรมแดนไปฝรั่งเศส ซึ่งจะมีแค้วนอัลซ�ส-ลอเรน มี

เมืองใหญ่อย่�งสต�ร์สบูร์ก โดยวิธีนั่งรถไฟ”

หลังจากได้ฟังเรื่องราวคร่าวๆเป็นเกริ่นนำา ผมรู้สึกว่าสิ่งที่

ผมกำาลังทำาอยู่ คงไม่ใช่การสัมภาษณ์ปกติธรรมดาเสียแล้ว เพราะผม

เริ่มได้กลิ่นความน่าสนใจอะไรหลายอย่าง โดยเฉพาะเรื่องราวของดิน

แดนที่ห่างไกลออกไป ที่ผมยังไม่มีปัญญาจะเดินทางไปถึง แต่หาก

ได้รับฟังเรื่องราว แล้วเอามานั่งคิดดีๆ มันอาจจะมีสิ่งที่เรานำามาใช้

ประยุกต์กับการมีชีวิตอยู่ในบ้านเมืองปัจจุบันของเราได้เหมือนกัน

เพื่อความแน่ใจ ผมควรต้องถามความเห็นของเป้ก่อนว่า 3

อาทิตย์ของคุณเป็น 3 อาทิตย์ที่......

“ดี เหมือนไปรู้ไปเห็น และได้ใช้ชีวิตด้วยตัวเอง เลือกได้

เอง แต่ถูกจัดระบบด้วยคว�มรับผิดชอบของตัวเองเช่นกัน เชื่อว่�

คุณภ�พชีวิตที่เยอรมันรวมทั้งก�รดำ�รงชีพของพวกเข� ไม่ส�ม�รถ

ใช้ได้ประเทศไทยขณะนี้ ในขณะที่สังคมไทย ยังยึดหลักก�ร ไนน์ทู

ไฟว์ ช�วเยอรมันมีระบบที่รองรับก�รทำ�ง�นที่ส�ม�รถเลือกเวล�

และสถ�นที่ทำ�ง�นได้ อย่�งโฮสต์ผู้หญิงทำ�ง�นบริษัทซอฟต์แวร์

ตั้งแต่เก้�โมงถึงบ่�ยส�ม บ่�ยส�มครึ่งไปรับลูกที่โรงเรียน ฉะนั้น

เวล�ทำ�ง�นคือ 6 ชั่วโมง ส่วนโฮสต์ผู้ช�ยทำ�ง�นบริษัทซอฟต์แวร์

เหมือนกัน ทำ�ง�นหนักกว่�ฝ่�ยหญิง ทำ�ง�นเก้�โมงถึงหกโมงเย็น

แต่ส�ม�รถเลือกว่�ทำ�ง�นที่บ้�นหรือทำ�ง�นที่บริษัท

เข�ส�ม�รถเลือกได้ว่�ใชีชีวิตอย่�งไร ส่วนคนไทยทำ�ง�น

ห�งรุ่งห�มค่ำ� เย็นกลับม�ก็ไม่อย�กทำ�อะไรแล้ว เพร�ะฉะนั้น

มนุษย์เงินเดือนไทย จะมีแต่ง�นๆๆๆขององค์กร”

ไฟร์บวร์กFreiburg

เมืองขนาดกลางทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ อยู่ในแคว้น บา

เดิน-วุทเท่นแบร์ก มีพื้นที่ 153.07 ตารางกิโลเมตร ประชากรสองแสนเศษๆ ความ

น่าสนใจคือเป็นเมืองที่อยู่บริเวณพรมแดนเยอรมัน ซึ่งสามารถข้ามไปฝรั่งเศสและส

วิตเซอร์แลนด์ในเวลาไม่กี่ชั่วโมง เมืองถูกก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1120 โดย ขุนนางคอน

ราด และ ดยุคแบร์โทลด์ที่ 3 แห่ง ซาห์ริงเก้น ในฐานะเมืองสถานีการค้า คำาว่าไฟร์

บวร์ก มาจากคำาว่า ไฟร์ ที่แปลว่า อิสระ ส่วน บวร์ก แปลว่าเมืองหรือป้อมปราการ

แปลความได้รวมกันว่า เมืองป้อมปราการแห่งเสรีชน ไฟร์บวร์กผ่านร้อนผ่านหนาว

มากับประวัติศาสตร์เยอรมัน ทั้งในสมัยการปฏิรูปศาสนาที่ขาวเมืองเลือกจะหนุน

ฝ่ายโปรแตสแตนท์ สมัยสงครามนโปเลียนที่เมือนี้เสมือนเป็นทางผ่านของกองทัพ

ฝรั่งเศสในการเข้าสู่ใจกลางของเยอรมัน รวมทั้งในสมัยการรวมชาติเยอรมัน ซึ่งเป็น

หนึ่งในเมืองที่สนับสนุนการรวมชาติของแคว้นปรัสเซีย

ด้วยความที่ไฟร์บวร์กมีภูมิอากาศอบอุ่น และตั้งอยู่ใกล้กับป่าดำา ไฟร์

บวร์กจึงเป็นเมืองที่เหมาะกับการท่องเที่ยว เป็นเมืองที่มีระบบเคเบิลคาร์เพื่อการ

ท่องเที่ยวยาวที่สุดในเยอรมัน นอกจากนี้ภายในเมืองยังมีระบบท่อน้ำาเลียบถนนที่

เป็นเอกลักษณ์ เรียกว่า Bächle ซึ่งสร้างมาตั้งแต่สมัยยุคกลาง มีความเชื่อว่าใครที่

เดินทางมาที่นี่ แล้วเดินสะดุดท่อน้ำา Bächle นี้ จะได้แต่งงานกับชาวเมืองไฟร์บวร์ก

ระหว่างที่ผมได้ฟังเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตทำางานที่เลือกได้ของ

ชาวเยอรมัน ใจหนึ่งของผมนึกถึงบทบรรณาธิการที่ผมเขียนไว้ เกี่ยวกับ

งานในฝันของผม ปรากฎในหน้าสองของ Bulettin เล่มนี้ ตามความ

ขยันและความรับผิดชอบของตัวเอง บทบรรณธิการ ผมเขียนไว้ก่อนที่

จะนัดคุณเป้มาสัมภาษณ์ แต่ยิ่งได้ฟังเรื่องราวที่กำาลังประดังเข้าเครื่อง

อัดเสียง และหูของผมอยู่นี้ ก็ยิ่งตอกย้ำาว่า สิ่งที่ผมเชื่อและเขียนไปก่อน

หน้านั้น มันเป็นไปได้ และกำาลังเกิดขึ้นจริงในบ้านเมืองอื่น แต่กับบ้าน

เมืองที่ผมอาศัยอยู่นี้ คงต้องใช้พลังอีกมากในการเปลี่ยนความเชื่อ โดย

เฉพาะกับพวกกระโหลกหนา ก้านหูอักเสบจำานวนมาก ที่ยังเชื่อว่าสังคม

ไทยสามารถขับเคลื่อนในวิถีเชื่องช้าและเดิมๆที่ไม่ต้องปรับตัวกันต่อไป

ที่สำาคัญตอนที่ผมไปฝึกงานที่บริษัทพัฒนาซอฟต์แวร์แห่งหนึ่ง

ย่านบางจาก เป็นเวลา 4 เดือน แต่เพียงพอที่จะทำาให้เห็นว่า พนักงาน

แม้จะเงินเดือนสูง แต่ก็ทำางานกัน 6 วันต่อสัปดาห์ แถมทำางานแต่ละ

วันตั้งแต่แปดโมงเช้ายันสองสามทุ่ม ผมเฝ้าถามพี่ๆพนักงานบ่อยๆว่า

ทำาได้ยังไง เขาก็ตอบกลับมาคล้ายๆกันว่า “ทำาเพราะงานมันสั่งให้ทำา”

เมื่อถามว่ามีเวลาพักมั้ย แน่นอนว่าไม่เคยเห็นใครตอบว่า มีเยอะแยะ

มากมาย ตื่นเช้ามาสดชื่นพร้อมไปทำางาน เลยซักคน บางคนยังบ่นด้วย

ซ้ำาว่า “พี่ทำางานหนัก จนบางทีไม่มีเวลาใช้เงินที่ได้มาเลย” แต่พวกเขา

ยังเชื่อว่า ทำางานหนักไปเหอะ เดี๋ยวก็เจริญในหน้าที่การงานเองใ

Page 15: Singh 9 Bulletin Vol.7

ผมไม่ได้จะเสี้ยมให้ขี้เกียจ แต่ระบบแบบนี้มันไม่ต่างจากขาย

วิญญาณให้องค์กรและผู้บริหารไม่กี่คน ซึ่งหากคุณทำาอะไรไม่ถูกใจเขา

เขาก็พร้อมที่จะไล่คุณออกได้ โดยไม่แยแสว่าที่ผ่านมาคุณยอมขายเวลา

และพลังงานในชีวิตของคุณให้กับผลกำาไรของบริษัทมากแค่ไหน

ผมกำาลังสงสัยอยู่ว่าคุณภาพชีวิตของผู้ที่จะสวมบทเป็น ผู้

ทำางานหนักและจงรักภักดีกับองค์กร ควรจะได้รับคุณภาพชีวิตที่ดีหรือ

เปล่า ไม่ใช่เหน็ดเหนื่อยอย่างหนักหน่วง ขณะที่ผู้บริหารตบโบนัสให้ตัวเอ

งงามๆ และโยนเศษโบนัสเล็กๆน้อยๆ(เมื่อเทียบกับกำาไรบริษัท)มาให้ลูก

น้องผู้ตะบี้ตะบันกับกองงาน

ในขณะที่คุณภาพชีวิตนอกเหนือการทำางานที่มีอยู่น้อยนั้น ก็ไม่

ได้ทำาให้อะไรดีขึ้น ขณะที่กรุงเทพฯเป็นเหมือนเมืองใหญ่ที่แออัดยัดเยียด

จนเมืองทำาท่าจะระเบิดออกมาในซักวัน ทั้งในแง่ความหนาแน่นของ

ประชากรและการยัดเยียดวัตถุยัดเยียดกระแส ส่วนต่างจังหวัดก็เหมือน

เมืองหลงยุคที่คำาว่าพัฒนาอย่างยั่งยืนไม่คยกระเด็นมาถึง มีแต่วัตถุที่สร้าง

ขึ้นมาตามประชานิยมเป็นผลระยะสั้น ยิ่งคิดยิ่งละเหี่ยใจเมื่อได้ฟังสิ่งที่

คุณเป้เล่าให้ฟังต่อ

“พูดถึงคุณภ�พชีวิต มันต่�งกันมห�ศ�ลม�ก (เธอเน้นคำ�ว่�

ม�ก) ทุกหมู่บ้�นจะใกล้สน�มเด็กเล่น ใกล้สวนส�ธ�รณะ มีกองทร�ย

ให้เด็ก เพร�ะเชื่อว่�กิจกรรมในกองทร�ยจะทำ�ให้เด็กแข็งแรง มีภูมิ

ต้�นท�นโรค เสริมสร้�งจินตน�ก�รของเด็ก เป็นก�รพัฒน�สมองซีก

ซ้�ยและขว�ให้ทำ�ง�นร่วมกัน

น้ำ�ประป�เยอรมันกินได้ ไม่เหมือนคลอรีนเจือน้ำ�ประป�แบบ

ไทย ที่โฆษณ�ว่�กินได้ แต่กลิ่นคลอรีนโชยม�แต่ไกล ซึ่งน้ำ�เปล่�บรรจุ

ขวดของเยอรมันแพง เพร�ะเป็นน้ำ�แร่ ไม่ใช่น้ำ�ก๊อกบรรจุขวดแบบไทย

มันคงประหล�ดถ้�คุณอยู่เมืองไทยแล้วเดินเข้�ห้องน้ำ�เพื่อไปกินน้ำ� แต่

ที่เยอรมัน คุณเดินไปที่อ่�งล้�งหน้�แล้วเปิดกินน้ำ�ได้เลย”

“น้ำ�ดื่มที่นู้นจะแพงกว่�โค้กนะ แต่โค้กที่นู้นไม่มีคว�มซ่�เลย

เสมือนเอ�เฮลลส์ บลูบอยส์สีดำ�ม�ชงน้ำ�เปล่� แต่ในท�งกลับกันเบียร์

จะมีคว�มซ่�พอสมควร แต่แอลกอฮอลล์จะน้อย รสช�ติเลยออกไป

ท�งน้ำ�เปล่�เจือเบียร์จ�งๆ”

“ส่วนใหญ่ที่นู้น เข�จะใช้จักรย�นกัน และมีระบบรถ

ส�ธ�รณะที่ตรงเวล�ม�ก ซึ่งเคยตกรถไฟ เพร�ะม�ช้�ไปหนึ่งน�ที ต้อง

รอรถขบวนใหม่เป็นเวล�หนึ่งชั่วโมง ซึ่งเสียเวล�ม�ก ดังนั้นคว�มตรง

ต่อเวล�เป็นสิ่งจำ�เป็นต่อก�รอ�ศัยในประเทศนี้”

“ห้�งสรรสินค้� ไม่เปิดตะบี้ตะบันเหมือนบ้�นเร� ที่นู้นจะ

เปิดเก้�โมง แต่จะปิดเร็ว ห้�งที่ปิดช้�สุดคือสองทุ่ม เมื่อเข้�สู่ช่วงค่ำ�

ทุกอย่�งในเมืองมันจะเงียบสงบ ต่�งคนต่�งเข้�บ้�น ไม่ส่งเสียงเอะอะ

โวยว�ยรบกวนต่อกัน รวมทั้งเส�ร์-อ�ทิตย์ห้�งจะไม่เปิด ฉะนั้นถ้�จะ

ซิ้อของเข้�บ้�น ให้ซื้อวันศุกร์”

รู้สึกเหมือนผมมั้ยว่าหลักฐานของประเทศที่เจริญแล้วคือ

บ้านเมืองที่สะอาดและเป็นระเบียบ

“ฉะนั้นจะไม่มีเซเว่น อีเลฟเว่น 24 ชั่วโมงในเยอรมันอย่�ง

แน่นอน”

“บ้�นเรือนคนเยอรมัน ถ้�ไม่นับเมืองใหญ่ จะยังมีป่�เข�

ล้อมรอบ เส�ร์-อ�ทิตย์ของคนเยอรมันจึงเคยชินกับก�รไปเดินป่�

อย่�งแถวๆที่เป้อยู่ จะใกล้ๆบริเวณป่�ดำ� ก็มีไปเดินกันบ่อยๆ”

“แต่ถึงกระนั้นคุณภ�พชีวิตที่ดี ก็ต้องแลกม�ด้วยภ�ษีที่

แพง เป็นอัตร�ภ�ษีก้�วหน้� แต่รับประกันว่� จ่�ยแพง ก็ต้องได้

คุณภ�พชีวิตชั้นดีม�รองรับ ซึ่งก็คล้�ยกับระบบรัฐสวัสดิก�ร ก�ร

ส�ธ�รณะดี ขนส่งดี รักษ�พย�บ�ลดี”

เป็นอีกครั้งที่ผมหวนกลับมานึกถึงคนไทย ผู้เคยตะโกนเย้วๆ

ว่า อยากให้เมืองไทยเป็นรัฐสวัสดิการจังเลย แต่เมื่อลองดูคุณภาพชีวิต

ทุกวันนี้ ความใส่ใจของทุกฝ่ายที่จะดิ้นรนทำาให้คุณภาพของสังคมไทย

ในแต่ละด้านดีขึ้น รวมทั้งการเสียภาษีที่แม้ว่าเราจะยังเสียภาษีไม่เท่า

รัฐสวัสดิการ แต่เรายังไม่มั่นใจเลยว่าภาษีที่เสียไป มันจะแปรรูปเป็น

สวนสาธารณะของชุมชน หรือสวนหน้าบ้านของนักการเมืองคนไหน

กันแน่ แล้วถ้าต้องเสียภาษีมากขึ้น คุณจะมั่นใจได้ยังไงว่าจะไม่มีคนหนี

ภาษีกันมากกว่าทุกวันนี้

เรื่องรัฐสวัสดิการ ถ้านิสัยและการปฏิบัติของคนในชาติยัง

เป็นอย่างนี้สืบไป ผมบอกได้คำาเดียวว่า “ตื่นเถอะ”

ท่อน้ำ�Bächleที่บอกว่�ใครเดินสะดุดจะได้แต่งง�นช�วเมือง

en.w

ikipe

dia.

org

กนิษฐ

์ยามน

’s P

hoto

Page 16: Singh 9 Bulletin Vol.7

“ชีวิตของเป้ที่นู้นกับที่นี่มันต่างกันมาก ไปอยู่ที่นู้น จะได้รู้ว่าเมื่อต้องอยู่กับตัวเองแล้วต้องทำ ยังไง ต้องช่วยเหลือตัวเองทุกอย่าง บางครั้ งก็สามารถสำ า ร ว จส ไ ตล์ ก า ร ใ ช้ชีวิตของตัวเองด้วยว่าอนาคต เราน่าจะเป็นคนยังไง การไปที่นู้นไม่ใช่การไปค้นหาชีวิต แต่เหมือนการไปค้นพบชีวิตมากกว่า”

Page 17: Singh 9 Bulletin Vol.7

อีกสิ่งหนึ่งที่ผมสนใจเกี่ยวกับเยอรมัน ซึ่งเคยรู้มาจากหลายๆ

สื่อ และอยากถามคุณเป้มากก็คือ ระบบคุณธรรม ในการซื้อสินค้าและ

บริการต่างๆ อย่างเวลาคุณไปซื้อของในห้าง จะไม่มีคนมาตรวจว่าคุณ

ซื้อของจ่ายตังค์หรือไม่ แต่ด้วยความรับผิดชอบสังคมและศีลธรรมใน

ตัวก็จะจ่ายตังค์ น้อยมากที่คนเยอรมันจะไม่จ่ายตังค์ หรือบางทีก็มี

กล่องขายหนังสือพิมพ์บิลด์ หนังสือพิมพ์หัวใหญ่ของประเทศ อารมณ์

เหมือนไทยรัฐของเยอรมัน ก็จะมีกล่องตั้งอยู่ตามที่ต่างๆ โดยผู้ซื้อจะ

ต้องเอาเงินหยอดเหรียญลงไปในตู้แล้วหยิบหนังสือพิมพ์ออกไป ซึ่งบาง

ตู้ก็เป็นกล่องโล่งๆเจาะรูเพื่อใส่เหรียญ ไม่มีคนเฝ้า หากใครจะมาหยิบ

หนังสือพิมพ์ไปเฉยๆไม่จ่ายตังค์ย่อมทำาได้ แต่หลายคนยืนยันว่า คน

เยอรมันจ่ายตังค์เสมอ

จุดๆนี้ เป้อธิบายว่า “อย่�งรถร�ง ก็จะมีตู้หยอดเหรียญต�ม

ป้�ยรอรถร�ง น�นๆทีจะมีคนม�ตรวจ ส่วนใหญ่เป็นระบบตรวจสุ่ม

จะมีบ้�งที่ไม่จ่�ย เช่น เคยมีกรณีคนผิวดำ�ไม่จ่�ยซื้อตั๋ว พอเจอน�ย

ตรวจจั๋วและพบว่�ไม่ได้ซื้อตั๋ว น�ยตรวจจะควบคุมตัวไว้ แต่เป็นก�ร

คุมตัวแบบไม่ถูกตัวกัน จะรักษ�ระยะห่�งเพื่อกันไม่ให้ผู้ถูกควบคุมตัว

ไปทำ�ร้�ยคนอื่นได้ เป็นหลักก�รโดยปกติของตำ�รวจเยอรมัน และถ้�

ยังไม่มีก�รซื้อตั๋วในขณะที่จับกุมได้ ก็จะพ�ลงไปจ�กรถไปปรับเป็น

60 เท่�ของร�ค�ตั๋ว ซึ่งมันไม่คุ้มกัน ส่วนตู้หนังสือพิมพ์ที่ว่�ม�ก็มี ตู้

ข�ยบุหรี่ก็เช่นกัน”

ตอนนี้ภาพเยอรมันในหัวของผมเริ่มเป็นรูปร่างขึ้น ความ

เป็นระบบและเป็นคุณธรรมของคนชาตินี้ หากเอามากลั่นกรองโดยคน

ไทยทั่วไป เขาอาจคิดว่า คนเยอรมันนี้จริงจังกับชีวิตเสียนี่กระไร ผมก็

เคยมองภาพคนเยอรมันแบบนั้น ว่าวันๆหนึ่งคงจะจริงจังกับชีวิต ถึง

ขั้นซีเรียส ขนาดฟุตบอลทีมชาติเยอรมัน สมัยที่ยังใช้ระบบกองหลังตัว

สุดท้ายแบบเยอรมันแท้ ก็ยังเป็นระบบที่แข็งแกร่งแต่แข็งทื่อในเวลา

เดียวกัน แล้วนิสัยลึกๆของคนเยอรมันจริงๆแล้ว เขาเป็นยังไงกันแน่ จะ

เย็นชาแบบที่สาวไทยแถวพัทยาเคยนิยามหรือเปล่า ไม่มีที่ว่างให้รอยยิ้ม

ในระวหง่าเวลางานบ้างหรือไม่ ก็ต้องให้เป้วานตอบอีกครั้ง

“ดูจ�กก�รทำ�ง�น คนเยอรมันเป็นคนตรง คิดอะไรพูดอย่�ง

นั้น ทำ�ผิดก็ขอโทษตรงๆ ระบบก็จะถูกดีไซน์ขึ้นม�ให้เกิดคว�มผิด

พล�ดน้อยที่สุด ถ้�คนเยอรมันไม่แน่ใจเรื่องอะไร ก็จะบอกตรงๆว่�ไม่

แน่ใจนะ ไม่มีก�รรู้ไม่จริงแล้วอวดฉล�ด แต่ที่เจอส่วนใหญ่จะอ�รมณ์

ดี ไม่มีอ�ก�รด้�นช� แม้แต่คนทำ�อ�ชีพข�ยของ ก็อัธย�ศัยดี ทักท�ย

เสมอๆ โฮสต์ที่บ้�นบอกเป้ว่� เจอใครให้ทัก แม้จะเป็นคนที่เดินผ่�น

ไปก็ต�ม แม้กระทั่งคนขับรถร�งก็ให้ทักให้หมด”

“สังคมเยอรมัน คุณไม่ส�ม�รถไปเยี่ยมบ้�นใครสุ่มสี่สุ่ม

ห้�ได้ จะต้องมีก�รนัดหม�ยหรือนัดเชิญก่อน เพร�ะในมุมมองของ

เจ้�ของบ้�น ห�กใครจะม�บ้�น นั่นหม�ยถึงปริม�ณอ�ห�รที่ม�ก

ขึ้นเพื่อรองรับผู้ม�เยือน ห�กทำ�ไม่พอก็ถือว่�ไม่ให้เกียรติผู้ม�เยือน

ห�กทำ�เผื่อจนเหลือก็ถือว่�สิ้นเปลืองเสียเปล่� ส่วนแขกถ้�จะไป

เยี่ยมบ้�นใคร ก็ควรมีของติดไม้ติดมือไป เช่น ไวน์ ดอกไม้ น้ำ�ช�

พร้อมขนมปัง เป็นต้น เพื่อช่วยแบ่งเบ�ภ�ระเจ้�ของบ้�นที่จะต้อง

ทำ�อ�ห�รรองรับ”

“แต่ห�กต้องก�รมีอัธย�ศัยที่ดีต่อไป สิ่งที่เป็นเรื่องต้อง

ห้�มในเยอรมันคือ ก�รพูดถึงสงคร�มโลก ซึ่งจะรู้ๆกันว่�ไม่มีใครพูด

ถึง รวมทั้งเรื่องฆ่�ล้�งเผ่�พันธ์ช�วยิวในสมัยฮิตเลอร์ ก็จะไม่พูดถึง

เช่นกัน”

เอาล่ะ เมื่อเราเข้าใจนิสัยใจคอของชาวเยอรมันพอสมควร

แล้ว ก็ต้องมาดูที่อาหารการกิน ใครซักคนเคยนิยามว่า อยู่เยอรมัน

ไม่ให้เบื่อต้องหัดกินของสามอย่างคือ เบียร์ ไส้กรอก และขาหมู บาง

คนหล่นทัศนะว่า เมืองใหญ่ในเยอรมันมีร้านขายไส้กรอกชุกชุมกว่า

ยุงลายในโอ่งมังกร เดินไปทุก 500 เมตร ต้องเจอหนึ่งรถเข็นไส้กรอก

ส่วนเบียร์ ทุกหมู่บ้านมียี่ห้อเบียร์เป็นของตัวเอง เหมือนหนึ่งหมู่บ้าน

หนึ่งยี่ห้อเบียร์ บาร์เบียร์แต่ละหมู่บ้านจะเสริ์ฟแต่เบียร์ประจำาหมู่บ้าน

เท่านั้น ส่วนขาหมูก็เหมือนข้าวกระเพราไก่บ้านเรา คุณไม่สามารถไป

เยอรมันโดยหลบหลีกขาหมูได้หรอก

“ไส้กรอกเยอรมันคืออะไรที่กินโดยไม่มีวันเบื่อ มันจะแบ่ง

เป็นไส้กรอกแบบแดงกับข�ว สีแดงจะเป็นหมู สีข�วเป็นเนื้อลูกแกะ

เข�ย่�งสดๆ ในเมืองไฟร์บวร์กจะไม่มีรถเข็น ส่วนใหญ่เป็นร้�นข�ย

ม�กกว่� สว่นข�หมูเยอรมัน อย่�ได้นึกถึงข�หมูมันเยิ้มแบบไทย

มันจะเป็นกระดูกชิ้นใหญ่ที่มีเนื้อหมูชิ้นยักษ์คลุมไว้ หนึ่งข�หมู คน

เยอรมันหนึ่งคนกินไหว แต่กับคนไทยต้องแบ่งกันสี่คน เบียร์ก็ไม่

แน่ใจนะ แต่เคยเห็นเบียร์ประจำ�แคว้นด้วย”

“นอกเหนือจ�กทั้งส�มอย่�งที่ว่�ม�แล้ว เยอรมันยังมีเค้ก

ที่คุณไม่มีวันเชื่อว่�จะมีเค้กที่อร่อยเช่นนี้ม�ก่อน ส่วนใหญ่เค้กเยอ

รมันอร่อยๆจะทำ�ในร้�นต�มหมู่บ้�น ส่วนที่ไปข�ยในห้�งจะรสช�ติ

ธรรมด� ผิดกับเค้กเมืองไทยที่ของดีๆมักเข้�ห้�ง ส่วนเค้กโฮมเมด

ถือว่�ธรรมด� อย่�งเค้กแบล็คฟอเรสต์ ซึ่งมีต้นกำ�เนิดจ�กละแวก

นี้ ของไทยจะเบสิค มีครีมๆธรรมด� ส่วนของเยอรมันด้�นล่�งเป็น

เชอรี่แช่เหล้� ซึ่งหมักม� 10 ปี มีแป้งพ�ยกรอบ แล้วเนื้อแป้งจะไม่

เหมือนของไทย ซึ่งที่นี่จะฟูหน�แน่นกว่�ม�ก ส่วนหนึ่งที่อย�กอยู่ที่

นั่นไปตลอดเพร�ะเค้กนี่ล่ะ เชื่อว่�เค้กโรงแรมหรูของไทย ยังสู้ไม่ได้”

ไส้กรอกเยอรมันราดซอส ทานในห่อกระดาษ

กนิษฐ

์ยามน

’s P

hoto

กนิษฐ

์ยามน

’s P

hoto

กนิษฐ

์ยามน

’s P

hoto

Page 18: Singh 9 Bulletin Vol.7

เป้ยืนยันกับผมว่า แม้แต่รายละเอียดเล็กๆน้อยๆเหล่านี้ ก็

ทำาให้เชื่อว่าการอยู่เมืองไทยกับเยอรมัน มันเหมือนอยู่กันคนละขั้ว ทำาให้

เข้าใจอะไรมา กขึ้นว่าที่เป็นอยู่ทุกวันนี้มันอาจจะยังไม่ดีที่สุด แล้วถ้า

เป็นอย่างนั้นจริง สำาหรับคนที่กำาลังสงสัยในโลกกว้างที่พวกเขายังไม่เคย

ได้เผชิญออกไป มันจำาเป็นมากแค่ไหนที่จะต้องออกไปรู้ไปเห็นไปเผชิญ

หน้ากับมันบ้าง

“มันจำ�เป็นม�กๆ ตอนที่ไปเรียนภ�ษ�เยอรมันที่ มศว ก็

เรียนม�ได้ดีในระดับที่เชื่อว่� น่�จะเอ�ไปใช้ได้ แต่พอไปอยู่ที่นู้น

เริ่มเรียนวันแรกๆ ไปเจอก�รสนทน�ในห้องเรียนเป็นภ�ษ�เยอรมัน

เรียนเรื่องภ�ษ�เยอรมันด้วยก�รอธิบ�ยแบบภ�ษ�เยอรมัน ทำ�ให้

ภ�ษ�ในหัวที่เอ�ม�จ�กเมืองไทย ใช้แทบจะไม่ได้ เพร�ะไม่เคยเจอ

สถ�นก�รณ์จริง แต่พอเริ่มเรียนรู้และเข้�ใจ ผ่�นไปสองส�มวัน ทุก

อย่�งก็เริ่มโอเคขึ้น เลยเชื่อว่�ห�กเรียนเฉพ�ะในห้องเรียน ไม่ออกไป

เจอสถ�นก�รณ์ที่บีบให้ต้องใช้ภ�ษ� ก็จะพัฒน�ภ�ษ�ได้ไม่เต็มที่ แต่

ห�กได้ใช้บ่อยๆ ต่อไปก็จะพัฒน�จนอ�จถึงขั้นที่คิดในใจก็เป็นภ�ษ�

เยอรมันได้เลย เหมือนเวล�เรียนภ�ษ�อังกฤษ เรียนม�กี่ปีก็ยังย่ำ�อยู่

กับที่เหมือนเดิม เพร�ะเรียนจบแต่ละค�บ ก็ไม่ได้เอ�ไปใช้ที่ไหน”

“ตอนนี้ให้ถ�มตรงๆว่�อยู่ที่นู้นได้ตลอดชีวิตเลยมั้ย ก็อยู่ได้

นะ แต่อ�จจะข�ดคนที่เร�รักอย่�งพ่อแม่ แต่อย่�งน้อยก็ต้องเปิดมุม

มอง ไม่ได้มีแค่สิ่งรอบตัวคุณใกล้ มันมีสิ่งที่ห่�งไกลม�กม�ยให้ค้นห�

ถ้�ปิดกั้นก็อ�จจะมองไม่เห็นในสิ่งที่เป็นโอก�ส บ�งสิ่งที่คุณคิดว่�มัน

ไม่มีท�งเกิดขึ้นได้ ห�กได้แสวงห�บ้�ง ก็อ�จจะเห็นว่�ในอีกมุมหนึ่ง

ของโลก มันเกิดขึ้นแล้ว ชีวิตของเป้ที่นู้นกับที่นี่มันต่�งกันม�ก แค่วิธี

คิดของคนก็ต่�งกันม�กแล้ว อย่�งอยู่ที่นี่ ไม่ใช่ว่�อยู่กับพ่อแม่ไม่ดี มี

คนคอยเตือนอะไรบ้�งก็ดี แต่บ�งครั้งไปอยู่ที่นู้น จะได้รู้ว่�เมื่อต้อง

อยู่กับตัวเองแล้วต้องทำ�ยังไง ต้องช่วยเหลือตัวเองทุกอย่�ง แม้จะมี

โฮสต์ แต่สุดท้�ยทุกอย่�งเร�ต้องคิดเองทั้งหมด บ�งครั้งก็ส�ม�รถ

สำ�รวจสไตล์ก�รใช้ชีวิตของตัวเองด้วยว่�อน�คต เร�น่�จะเป็นคน

ยังไง ก�รไปที่นู้นไม่ใช่ก�รไปค้นห�ชีวิต แต่เหมือนก�รไปค้นพบชีวิต

ม�กกว่� รวมทั้งคว�มรับผิดชอบในชีวิตก็มีม�กขึ้น แต่ก่อนจะไม่ค่อย

ใส่ใจตัวเอง ถ้�ป่วยนิดหน่อยก็ไม่คิดจะห�ย�ม�กิน แต่ตอนไปที่นู้นก็

ต้องพย�ย�มรักษ�ตัวให้เต็มที่ ซึ่งถ้�ยังอยู่ที่บ้�น มันก็เก�ะพ่อแม่ม�ก

เกินไป”

“ที่ว่�ม�ทั้งหมดคือ ไม่ใช่จะเห็นดีง�มกับประเทศอื่น จนไม่

สนใจประเทศไทย ก�รมีชีวิตในประเทศไทย บ�งจุดก็ชอบ แต่หล�ย

ครั้งที่เริ่มคิดว่� เร�จะอยู่อย่�งต่อไปเรื่อยๆเหรอ คุณจะใช้ชีวิตต่อไป

อย่�งนี้เรื่อยๆ ไม่ก้�วไปไหนเหรอ”

แล้วเราจะเอาข้อดีจากที่ห่างไกล มาใช้ในบ้านเรายังไงได้บ้าง

“คงเน้นที่แนวคว�มคิดกับมุมมองม�กกว่� ให้เห็นว่�โลก

มันเป็นอย่�งนี้แหล่ะ จะทำ�หรือเปล่�มันก็อีกเรื่องหนึ่ง”

รู้สึกเหมือนผมมั้ยว่าหลักฐานของประเทศที่เจริญแล้วคือ

บ้านเมืองที่อาศัยอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้ไม่มีการบุกรุกนี่อาจจะ

เป็นป่าล้อมเมืองขนานแท้

ป้อมปราการโบราณของเมืองสร้างในสมัยยุคกลาง

กนิษฐ

์ยามน

’s P

hoto

กนิษฐ

์ยามน

’s P

hoto

กนิษฐ

์ยามน

’s P

hoto

Page 19: Singh 9 Bulletin Vol.7

ก็เป็นอันว่า เรื่องราวที่ร้อยเรียงมาทั้งหมดเกี่ยวกับดินแดนที่ดูจะเจริญกว่าเราหลายชั่วโคตร ผ่านการบอกเล่าของหญิงสาวผู้ไปผจญภัยอยู่ชั่ว

ระยะหนึ่ง ผมเชื่อเช่นกันว่า สายตาของเป้หลังกลับมาจากเยอรมันคงเบิกกว้างขึ้นกว่าเดิมเยอะ รวมทั้งใครหลายคนที่ได้อ่านเรื่องราวทั้งหมด แม้เป้จะ

ไม่ใช่นักเล่าเรื่อง ที่หยิบเหตุการณ์เด็ดๆมาเป็นจุดขาย แต่อย่างน้อยเธอก็เล่าตามที่สายตาเธอจะจดจำามาไหว มันก็น่าจะเป็นการเดินทางที่ทำาให้เราเชื่อว่า

โลกใบนี้ยังมีอะไรอีกมากมาย ให้ได้ค้นหา ให้ได้ทำาความเข้าใจ และยังมีที่ยืนบนโลกใบนี้อีกมากมาย ให้เราเขาไปยืน ขอเพียงแต่เราเริ่มต้นที่จะแสวงหา

ในช่วงสุดท้าย หลังจากเราฝอยเรื่องเยอรมันกันสนุกปาก ผมก็อยากจะอัพเดตชีวิตของเป้ให้ได้ติดตามกันว่าตอนนี้ ทำาอะไร อยู่ที่ไหน อย่างไร

“หลังกลับม�ก็นอนอยู่บ้�นเฉยๆ นอนเป็นอ�ชีพหลัก กินเป็นอ�ชีพเสริม อ�ชีพห�ร�ยได้ก็กลับม�ทำ�ที่ยูนิโคล่ แต่ไม่ค่อยมีง�นเท่�ไหร่

บ�งทีก็ออกจ�กบ้�นไปเที่ยวกับเพื่อน ชีวิตช่วงนี้อยู่ในสถ�นะโสดไม่ได้มีใคร และคงจะไม่รีบ ค่อยๆดูไป อย�กใช้ชีวิตให้ดีไปก่อน คงพักฟื้นชีวิตซัก

เดือนหนึ่ง รอเปิดเทอม เรียนโทรัฐประศ�สนศ�สตร์ ที่นิด้�”

พอพูดถึงรัฐประศาสนศาสตร์ เธอผู้เจนจบมาทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ พร้อมแค่ไหนกับการเรียนอีกสาขาหนึ่งที่มีรายละเอียดต่างกัน

“น่�จะได้แหล่ะ แต่ก็ต้องปูพื้นฐ�นซักระยะ ห�หนังสืออ่�นอีกเยอะ เพร�ะยังไงก็ไม่ได้เรียนม�โดยตรง”

ในช่วงชีวิตตอนนี้ คุณอยากเป็นใครกันแน่

“คนที่เดินท�งไปเรื่อยๆ เหนื่อยก็พัก เฮฮ�กับเพื่อนไปเรื่อยๆ ในขณะที่ชีวิตก็มีโลกส่วนตัวที่สูง พูดกันตรงๆอย่�เอ�ไปคิดเอง อย่�งเรื่อง

ไปเยอรมัน ที่ผ่�นม� เร�พย�ย�มหล�ยครั้ง คนหล�ยคนมักมองว่�ทำ�ไม เป้ ต้องพย�ย�มดิ้นรนไปต่�งประเทศ แต่เป้รู้สึกว่�คนเร�ควรมีแรงผลัก

ดัน และนี่คือแรงผลักดันที่เร�รู้สึกว่�ต้องไปให้ได้”

แล้วถ้าชีวิตดำาเนินไปแบบที่ต้องการ ปูเป้ อายุ 80 ปี จะเป็นคนยังไง

“นั่งดูหนังอยู่กับบ้�น ไปต่�งจังหวัดบ้�ง แต่คงไปต่�งประเทศไม่ไหว มีเพื่อนน่�รักๆซักคน”

แล้วถ้าปูเป้อายุ 80 มาหาคุณตอนนี้ ปูเป้ในปัจจุบันจะพูดกับเธอว่า

“จะถ�มว่�ชีวิตที่ผ่�นม�โอเคมั้ย โอเคยังไง แล้วจะทำ�เวล�ที่เหลือให้ดีที่สุดนะ ใช้ชีวิตให้เป็นของตัวเองให้ได้ เพร�ะชีวิตที่กว่�จะถึง 80

คงจะลำ�บ�กอะไรอีกเยอะ”

เป้ทิ้งท้ายว่า นี่แค่ 1 ใน 4 ยังเจออะไรมากมายขนาดนี้เลยนะเนี่ย ผมฟังเช่นนั้นก็ได้แต่คิดตามว่า ถ้าเป็นอย่างนั้นจริง สำาหรับ 3 ใน 4 ที่เหลือ

เราจะมีชีวิตที่ดีและกว้างพอที่จะตอบคำาถามแบบที่เป้ตั้งใจจะถามยายเป้ได้หรือไม่

อาจจะต้องเริ่มจาก การเริ่มเดินทางไปที่ไหนซักแห่ง

ทั้งหมดนี้ขอขอบคุณ ข้อมูลเมืองไฟร์บวร์กในล้อมกรอบ โดย en.wikipedia.org

และปู้เป้ที่เอื้อเฟื้อรูปประกอบ กล้องสำาหรับการถ่ายภาพหน้าปก และบทสัมภาษณ์

ชั้นดีในครั้งนี้

กนิษฐ

์ยามน

’s P

hoto

Page 20: Singh 9 Bulletin Vol.7