18
การพยาบาลผูปวยโรคขออักเสบ (Arthritis) ขออักเสบ หมายถึง มีภาวะการอักเสบของขอหรือความผิดปกติที่เกิด ขึ้นกับขอ ซึ่งการอักเสบนี้จะสงผลใหมีการอักเสบอยางเรื้อรัง การรักษาจะ ใชเวลานาน ขออักเสบมีมากกวา 100 ชนิด พบวามีประชาชนใสหรัฐ อเมริกา 37 ลานคน มีปญหาเกี่ยวกับขออักเสบ ขอที่เคลื่อนไหวไดมากจะมี เยื่อหุมขอ ซึ่งประกอบดวยเสนเลือด เนื้อเยื่อเสนใย เยื่อหุมขอสําคัญมาก ในการเก็บน้ําหลอลื่นขอ เพื่อใหขอเคลื่อนไหวไดดี สาเหตุของขออักเสบจริงๆ แลวไมทราบ การรักษาจึงรักษาตามอาการ และปองกันความพิการ ขออักเสบเปนการอักเสบที่พบบอย จําแนกดังนี้ คือ เกิดจากการอักเสบ (Inflammatory) และไมไดเกิดจากการอักเสบ (Non-inflammatory) ขอ อักเสบที่เกิดจากการอักเสบประกอบดวย ขออักเสบรูมาตอยด (Rheumatoid arthritis) และซิสเตมิค ลูปส อิริทิมาโตซัส (Systemic lupus erythematosus) ขออักเสบที่ไมไดเกิดจากการอักเสบคือ เกาท (Gout) และขอเสื่อม (Osteoarthritis) ขออักเสบรูมาตอยด (Rheumatoid Arthritis) ขออักเสบรูมาตอยด เปนโรคที่ไมทราบสาเหตุเกี่ยวกับลักษณะอาการ และขบวนการอักเสบที่ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงของขอตอ และโครงราง ของขอ เปนการอักเสบของขอที่รุนแรง และเรื้อรัง ทําใหเกิดความพิการ ผูปวยจะทรมานจากการเจ็บปวด ขอติดแข็ง และบวม อุบัติการณ พบขออักเสบรูมาตอยดในประชาชนของสหรัฐอเมริกา ประมาณ 6.5 ลานคน ขออักเสบรูมาตอยดมักเปนการอักเสบของขอหลายๆ ขอ พบมากในผูหญิงระหวางอายุ 25-55 ป สาเหตุ

การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

การพยาบาลผูปวยโรคขออกัเสบ (Arthritis)

ขออักเสบ หมายถึง มีภาวะการอักเสบของขอหรือความผิดปกติทีเ่กิด

ขึ้นกับขอ ซึ่งการอักเสบนีจ้ะสงผลใหมีการอักเสบอยางเรื้อรัง การรักษาจะ

ใชเวลานาน ขออักเสบมมีากกวา 100 ชนิด พบวามปีระชาชนใสหรฐั

อเมริกา 37 ลานคน มปีญหาเกี่ยวกับขออักเสบ ขอที่เคลื่อนไหวไดมากจะมี

เย่ือหุมขอ ซึ่งประกอบดวยเสนเลือด เนื้อเยื่อเสนใย เยื่อหุมขอสําคัญมาก

ในการเก็บน้ําหลอลื่นขอ เพื่อใหขอเคลื่อนไหวไดดี

สาเหตุของขออักเสบจริงๆ แลวไมทราบ การรักษาจึงรกัษาตามอาการ

และปองกันความพกิาร

ขออักเสบเปนการอักเสบที่พบบอย จําแนกดังนี้ คือ เกิดจากการอักเสบ

(Inflammatory) และไมไดเกิดจากการอักเสบ (Non-inflammatory) ขอ

อักเสบที่เกิดจากการอักเสบประกอบดวย ขออักเสบรูมาตอยด

(Rheumatoid arthritis) และซสิเตมิค ลปูส อิริทมิาโตซัส (Systemic

lupus erythematosus) ขออักเสบที่ไมไดเกิดจากการอักเสบคือ เกาท

(Gout) และขอเสื่อม (Osteoarthritis)

ขออกัเสบรมูาตอยด (Rheumatoid Arthritis)

ขออักเสบรูมาตอยด เปนโรคที่ไมทราบสาเหตุเกี่ยวกบัลกัษณะอาการ

และขบวนการอักเสบที่ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงของขอตอ และโครงราง

ของขอ เปนการอักเสบของขอที่รนุแรง และเรื้อรัง ทําใหเกิดความพกิาร

ผูปวยจะทรมานจากการเจบ็ปวด ขอติดแข็ง และบวม

อบุตักิารณ พบขออักเสบรูมาตอยดในประชาชนของสหรัฐอเมริกา

ประมาณ 6.5 ลานคน ขออักเสบรมูาตอยดมักเปนการอักเสบของขอหลายๆ

ขอ พบมากในผูหญิงระหวางอายุ 25-55 ป

สาเหต ุ

Page 2: การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

สาเหตุที่แทจริงไมทราบ แตทฤษฎขีองการติดเชื้อ เชื่อวาเกิดจากการ

ติดเชื้อแบคทเีรีย ไวรัส หรือโปรโตซัว ผูเชี่ยวชาญสวนใหญเชื่อวามี

องคประกอบอื่นอีกมากทีมี่ผลตอโรคนี้ ไดแก กรรมพันธุ สิ่งแวดลอมไมดี

อุบัติเหตุ หรือไดรับความกระทบกระเทือนจากสาเหตุอ่ืนๆ และจากอาหาร

ดังนั้น พอจะรวบรวมสาเหตุไดดวย

1. การติดเชื้อเฉพาะที ่

2. แพพวกแบคทเีรีย

3. ติดเชื้อไวรัส

4. ขาดวิตามิน

5. กระบวนการเผาผลาญผิดปกติ

6. กลไกของระบบอิมมนู

7. อารมณและจิตใจ

พยาธสิรรีวทิยา

การเกิดพยาธิสภาพของขอในผูปวยขออักเสบรูมาตอยด แบงเปน 4

ระยะคือ

1. เยื่อบขุออกัเสบ (Synovitis) เริม่มีการอักเสบ ผิวขอ

(Synovial villi) จะขยายใหญขึ้น ถูกแทรกดวยเซลลหลายชนดิ เชน ลิมโฟ

ซัยทคิ พลาสมา ลมิโฟปลาสตอยด และแม็คโครเฟลจ (macrophage) ในระยะแรก

การอักเสบจะจํากัดอยูในเย่ือหุมขอ (joint capsule) โดยเฉพาะที่เย่ือบุขอ (synovial

membrane) เนื้อเย่ือจะบวม และหนาขึ้น

Page 3: การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

2. การเกดิพนันสั (Pannus formation) เมื่ออกัเสบเรือ้รงั ทําใหเย่ือบุขอ

หนา และแขง็เซาะกระดูกออน

และทําลายขอกระดูกออน ไดรบัอาหารไปเลี้ยงไมพอจงึถูกทําลาย มกีารสลายตัว

(lysis) และขาดอาหาร

3. ขอตดิแขง็แบบไฟบรสั (Fibrous ankylosis) เกิดข้ึนจากการมีแก

รนนูเลชั่น ทิชชู (glanulation tissue) ตอไปทําใหบริเวณนั้น เกิดเนือ้เสนใย

(Fibrous tissue) แข็งข้ึนเกิดแผลเปน ทําใหขอเคลือ่นไหวไมได

4. ขอตดิแขง็แบบกระดกู (Bony ankylosis) เกิดเนือ้เสนใยมีหนิปนูเกาะ

และจะแข็งมากจนกระดูกและขอ

แข็งเคล่ือนไหวไมไดการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะใกลเคียง คอื กลามเนื้อผวิหนังที่

อยูใกลชดิกบัขอที่มพียาธสิภาพจะดึงรัง้ ผิวหนงัจะตึงบาง และดูเปนมัน

อาการและอาการแสดง

อาการนํา คือ อาการออนเพลีย ขอติดแข็งและเจ็บขอ ปวดขอทั่วๆ ไป ปวด

เมื่อย น้ําหนกัลดและเสนประสาทบังคับหลอดเลือดเปลี่ยนไป (Vasomotor change)

เชน ชามือและเทา แตอาการที่ชดัเจน คือ อาการปวดขอ และขอติดแข็งจะเปนมาก

ข้ึนหลังออกกําลังกายมาก มักเปนตอนเชาและอาการดีข้ึนตอนกลางวนั ลักษณะของ

ขอบวม แดง รอน กดเจ็บ

อาการของขอแข็งตึงตอนเชา เปนอาการสาํคัญ และมปีระโยชนในการประเมนิวา

โรครุนแรงเพียงใด ในรายรนุแรงผูปวยจะบนเรื่องขอติดแข็งตอนเชานานมากกวา

ชั่วโมง ถาอาการดีข้ึนขอแข็งตึงจะลดลง นอกจากนีต้รวจดูความรนุแรงไดจากการ

ใหผูปวยกํามอืบบีลูกสูบยาง เครื่องวัดความดัน หรือใหเดินประมาณ 50 ฟุต

ขอที่มพียาธิสภาพมากที่สุด คอื ขอนิ้วมอื ขอมือ ขอศอก ขอเขา กระดูกคอ

ตลอดจนกระดูกขากรรไกร ทําใหมปีญหาในการเคี้ยวอาหารปวดราวไปที่หูชัน้

กลางและคอ การอกัเสบไปทีก่ระดูกบางสวนของกลองเสยีง ทําใหเสียงแหบ และอุด

ตันทางเดนิหายใจสวนตน

การมปีลอกเอน็อกัเสบ (Tenosynovitis) ของขอมือ จะกดเสนประสาทมีเดียน

(Median nerve) เกิดคารปล ทนันิล ซนิโดรม (Carpal tunnel Syndrome)

ลักษณะผิวหนัง โดยเฉพาะมือจะเย็นข้ึน ซึ่งเกิดจากประสาทอตัโนมตัิผิดปกต ิพบวา

มีฝามือแดง (Palmar erythema) ได ในผูปวยที่เปนมานาน ผิวหนงับริเวณนิว้มือจะ

ดูตึงเปนมันและลบี

อาการแสดงนอกขออืน่ๆ

Page 4: การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

ในผูปวยขออกัเสบรมูาตอยด พบปมรมูาตอยด (Rheumatoid nodule) ได

ประมาณรอยละ 20 มักพบบริเวณขอทีต่องเสียดสีหรือกดทบักบัส่ิงอืน่ เชน ขอศอก

นิ้วมือ ทายทอย กระดูกกนกบ ปุมอาจเคลื่อนไดหรือยึดติดกับเอน็ ลกัษณะนุม กดไม

เจ็บ เปนถงุน้ํา ปุมประกอบ ดวย รอบหลอดโลหติและนํ้าเหลือง ซึ่งเปนลักษณะ

นิวเคลียสเดียวมกัสมัพนัธกบัการถูกกด (รูปที ่3.6)

อาการแสดงทางตา คอื การอักเสบทีก่ระจกตากับเย่ือตาขาว (Sjoigren’s

syndrome) พบไดประมาณรอยละ 15 ตาแหง ผลติน้ําตาไดนอย เนือ่งจากตอม

น้ําตาเหี่ยว

การเปลี่ยนแปลงของปอด มีเนื้อปอดแข็งทั่วๆ ไป เกิดปุมในเนื้อปอด มีนํ้าในชองเย่ือ

หุมปอด

หัวใจ พบวาเย่ือหุมหวัใจอักเสบ ลิ้นเอออรติครั่ว (Aortic) เนื่องจากเกิดเอออรตคิ แก

รนนูโลมา (Aortic granuloma) ในล้ินเอออรติค ลิน้ไมตัสปดชาและกลามเนื้อหัวใจ

อักเสบ

เฟลตี ้ซนิโดรม (Felty’s syndrome) กลุมอาการรวมในขออกัเสบรมูาตอยด คอื

มามโต เม็ดเลือดขาวตํ่า ซีด รมูาตอยดเฟคเตอรจะสูงแบบโปรตนีของเลือด

ตกตะกอนอยูในซีรั่มที่แชเย็น (Cryoglubulin) สติล ดซีีส (Still’s disease) เปน

ลักษณะของ จูเวนไนล รูมาตอยดอารไ๎ทตีส (Jurenile Rheumatoid arthritis) แต

อาจพบไดในผูใหญ มีไขโดยไมทราบสาเหตุ ไขสงูถึง 40°C ปวดขอ ปวดกลามเนื้อ

ผื่นข้ึน (maculopapular rash) เย่ือหุมหัวใจอักเสบ ปอดอักเสบ เจ็บคอ ตอม นํ้า

เหลืองโต มามโต และปวดทอง ขออักเสบรูมาตอยด เปนโรคที่อาจอยูในระยะสงบ

หรือกําเรบิ ผูปวยบางรายอาจมอีาการ เพียง 2-3 เดือน แลวไปหลายๆ เดือน หรือ

หลายป แตในรายที่เปนเรือ้รงัระยะที่โรครนุแรง (active) อาจยาวนาน การควบคุม

โรคใหอยูระยะสงบจําเปนจะตองรบีรักษาในระยะเริ่มตน การกําเรบิโรคครัง้หลังๆ

จะรักษายากกวาครั้งกอนๆ อาการของผูปวยอาจเกิดขึน้อยางรวดเร็ว แตไมแนนอน

เสมอไป บางรายอาจเกดิข้ึนขา อาการเริ่มตนอาจสัมพันธกับความเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ

เชน อารมณเครียด กงัวล ทํางานหนัก หรือติดเชื้อ

การรกัษาโรคขออกัเสบรมูาตอยด

หลกัการรกัษาทัว่ๆ ไป มดีงันี้

1. การพกั (Bed rest) ผูปวยที่ขออักเสบรนุแรง ควรใหรางกายและขอตางๆ

ไดพกัมากกวาปกต ิ

Page 5: การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

2. ใหขอที่มพียาธสิภาพไดพกัโดยการใส splint

3. กายภาพบําบัด เชน ประคบความรอน บรหิารขอและกลามเนื้อ

4. การรกัษาโดยการใชยา คือ ยาตานการอักเสบหรือยาระงับการอกัเสบและ

ยาแกปวด (Anti-inflammatory and analgesic drug) ยาที่ใชเปนตวัแรก คอื

แอสไพริน สวนยาทีพ่จิารณาใชเปนตัวสุดทาย คอื คอรติโคสเตอรอยด

(Corticosteroid) เพราะยาตวันีมี้ฤทธิ์ขางเคียงที่ รุนแรงกวาชนิดอื่น

4.1 ยาแอสไพรนิ มีผลตอตานการอักเสบและเปนยาแกปวด เปนยาตัวแรกที่

นํามาใชรกัษาโรคขออักเสบรูมาตอยด ในผูใหญใหวนัละ 3-6 กรมั แบงให 4 ครัง้

หลังอาหาร ขนาดที่เหมาะสม คือ บรรเทาอาการโดยไมเปนพิษกับผูปวย แพทยจะ

เจาะเลือดหลังใหยา 2-4 ช่ัวโมงเพือ่ตรวจหาระดบัยาเปนระยะๆ โดยระดับการรักษา

อยูระหวาง 15-30มิลลิกรมัเปอรเซน็ต

อาการขางเคียงของยา ปวดทอง มีเลือดออกและเปนแผลในกระเพาะอาหาร เปน

ลมพิษ หรือหอบหดื อาการเปนพิษของยาที่สงัเกตไดในระยะแรกเริ่ม คอื หูอื้อและ

ปวดทอง หหูนวก เดินเซ หายใจเรว็ลึก สับสน

4.2 อินโดเมทาซนิ (Indomethacin) เปนยาแกปวดตอตานการอกัเสบและเปน

ยาลดไข

อาการขางเคียง ปวดศรีษะ เวียนศรีษะ ซึมเศรา เบื่ออาหาร คลืน่ไส อาเจียน เกิด

แผลในกระเพาะอาหาร

4.3 พีนิลบูลาโซน (Phenylbulazone) แพทยมักใชรกัษาในระยะที่อาการ

รุนแรงเกิดข้ึนเทานัน้ และไมใชเปนระยะเวลานานเพราะอาการขางเคียงมมีาก

ขนาดทีใ่หสงูสุดไมเกิน 400 มิลลิกรัม/วัน อาการขางเคียงที่รนุแรง กดการทาํงาน

ของไขกระดูก เกิดอะแกรน็นวิโลไซโทซิส (agranulocytosis) มีการสะสมของ

โซเดียม

4.4 โกลด คอมเพานด (Gold compounds) เชน โซเดียมไทโอมาเลท

(Sodium thiomalata) และโกลด ไทโอกลูโคส (Gold thioglucose) ฤทธิ์ของยาที่

แทจรงิยังไมทราบ แตเชื่อวาเปนไลโซโซมอลสตาบิลเซอร (Lysosomal

stabiltzers) ฉีดเขากลามเนื้อทุกสัปดาห ขนาดเริ่มตนคือ 10 มิลลิกรมั และ 25

มิลลิกรมั ในสปัดาหตอมาถาหากไมเกิดอาการขางเคียง แพทยจะใหตอไป 50

มิลลิกรมัทกุสปัดาห จนกระทั่งอาการดข้ึีน หรือใหไดถงึ 1 กรัม อาการขางเคียง มี

Page 6: การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

แผลในปาก ผืน่ข้ึนตามผวิหนัง ไตอกัเสบ (Nephritis) โดยเริ่มจากมไีขขาว หรือ

ปสสาวะเปนเลือด กดการทํางานของไขกระดูก เกิดอะพลาสติค อะนีเมีย (Aplastic

anemia)

4.5 คอรทิโคสเตอรอยด (Corticosteroids) เปนยาที่ชวยบรรเทาอาการ

เจ็บปวดไดเร็ว แตยาไมไดทําใหอาการของโรคดีขึ้น แพทยจะใหขนาดยานอยที่สดุ

ที่จะชวยใหผูปวยดีข้ึน ถึงอยางไรกต็ามการใหคอรทิโคสเตอรอยดจะเกิดอาการ

ขางเคียงที่เปนอนัตรายไดมาก นอกจากใหยาในรูปกินแลว ยังใหรปูฉีดเขาขอ ซึง่

อาจทําใหเกิดการติดเช้ือขึ้นได

4.6 โพรทิโอนิค แอซิค ดีริเวทพิ ดรกั (Propionic acid derivative drugs)

เชน นาโบรซนิ (Naprosyn) ยานี้จะไปยับยั้งพลอสตาแกลนดนิ (Prostaglandins)

เชนเดียวกับแอสไพรนิ แตอาการขางเคียงของยานี้นอย

4.7 อิมมูโนซับเพรสซฟิ ดรัก (Immunosuppressive drug) เหตุผลในการใช

เพราะเชื่อวาโรคที่เกิดจากการสนองตอบของระบบอิมมูน ทีท่ําใหเกิดเย่ือหุมขอ

อักเสบ และอ่ืนๆ การใชยาเพือ่ไปกดฮวิเมอรอล ( Humeral ) และการตอบสนองตอ

เซลล ( Cellular response ) รวมทัง้ตอตานการอักเสบ ยาทีใ่ช คอื ไซโคลฟอสฟา

ไมด(Cyclophosphamice) 6-เมอรเคปโตพิวรนิ (6-Mercaptopurine)

methotrexate แตยาเหลานี้มพีษิมากจงึนิยมใชนอย

5. การรกัษาโดยการผาตัด เพือ่แกไขความพกิารของขอ และใหทําหนาที่ไดดีข้ึน

5.1 การทําผาตัดเย่ือบุขอออก (Synovectomy) ทําใหผูปวยที่มีความเจ็บปวด

เนื่องจากยังคงมกีารอักเสบของเย่ือบุขอเกิน 3-6 เดือน ของขอใดขอหนึ่ง โดยที่ขอ

อื่นๆ อาการดีข้ึนมาจากการรักษาดวยยา การทําผาตัดวิธีนี้จะชวยลดปวด ทําให

เคลื่อนไหวไดมาก

5.2 การทําผาตัดเพื่อเปลี่ยนแปลง (Reconstructive surgery) ทําใหผูปวยที่

ขอถูกทําลายมากแลว ไมสามารถใชขอนั้นๆ ได และมีความเจ็บปวดมาก โดยเฉพาะ

ในขอทีต่องรบัน้ําหนัก เชน ขอตะโพก ขอเขา

การประเมนิสภาวะสขุภาพ ประเมนิจาก

1. ประวตั ิ

1.1 ประวตัิเกี่ยวกับอาการผิดปกติของขอ

Page 7: การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

1.1.1 อาการปวดขอจะปวดขอทั่วๆ ไป ปวดเมื่อย ปวดขอ ขอติดแข็ง พบ

ในตอนเชาจะปวดมาก ตอนกลางวันจะดีข้ึน

1.1.2 จะพบขอที่มพียาธิสภาพมากที่สดุ คือขอนิ้วมือขอมอื ขอศอก ขอ

เขา กระดูกคอตลอดจนกระดูกขากรรไกร

1.1.3 ลักษณะของขอบวมแดงรอนกดเจ็บ ซึง่จะพบตั้งแต 2 ขอข้ึนไป

1.1.4 พบปุมลกัษณะนุมกดไมเจ็บเปนถุงนํ้าอยูที่บริเวณขอศอก หรือ ขอ

นิว้มือ ทายทอยหรือกระดูกกนกบ

1.2 ประวตัิสวนตวั เศรษฐกิจ สังคมและอาชีพผูปวย

1.3 ประวตัิการใชยาและการรกัษาที่เคยรับมากอน ประวตัิการเจ็บปวยในอดตี

การแพยา แพอาหาร และสารเคม ี

2. สภาพรางกายทัว่ไป โรคขออักเสบรมูาตอยด อาจพบความผิดปกติทัว่ๆ ไป

นอกจากภาวะขออักเสบรวมดวย คือ

2.1 ผิวหนงั จะพบปุมบนผิวหนงั ตามขอทีใ่ชงานมาก เชน ขอศอก ขอนิว้มือ

ฯลฯ

2.2 ระบบประสาท จะมีอาการชาตามมอืและเทา

2.3 ตา จะพบมีการอกัเสบของกระจกตาและเย่ือบุตาขาว

2.4 กลองเสยีง เก่ียวกบัเสียงแหบ

2.5 ปอด มกีารเปลี่ยนแปลง เนื้อปอดแข็ง มนี้ําในชองเย่ือหุมปอด

2.6 หัวใจ กลามเนื้อหวัใจอักเสบ ลิ้นหวัใจรั่ว

2.7 ทางเดินอาหาร ปวดทอง

2.8 ไต ไตอักเสบ

2.9 โลหิต พบภาวะโลหติจาง มามโต

2.10 อาการทั่วๆ ไป มีไขน้ําหนกัลด ออนเพลียไมมีแรง เหนื่อยงาย คลืน่ไส

การตรวจทางหองทดลอง

3.1 การตรวจนับเมด็เลือด พบวาซีด เมด็เลือดแดงติดสีจาง ขนาดปกติ

โดยเฉพาะเมื่อโรคอยูในระยะรุนแรง รอยละ 80 ของผูปวยเมด็เลือดขาวมีจํานวน

ปกต ิแตอาจสงูข้ึนเล็กนอย

Page 8: การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

3.2 คาอัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดง (Erythrocyte sedimentation

Rate) มักสงู

3.3 คาอัลบลูมนิตํ่า แตแกมมา กลอมบลูิน และแอลฟากลอมบูลนิสงูข้ึน

3.4 รูมาตอยด แฟคเตอร (Rheumatoid factor) พบไดในผูปวย ถึงรอยละ 75

ไทเทอะ (Titer) ย่ิงสงูโรคยิง่รนุแรง การใชผลลบไมแสดงวาไมเปนโรค โดยเฉพาะ

2 ปแรก

3.5 ลักษณะของนํ้าในขอ (Synovial fluid) จะมีสเีหมือนโคลน มีเม็ดเลือดขาว

สวนใหญเปน นวิโทรฟล (Neutrophil) 10,000-50,000 เซลล/ลกูบาศกมิลลิเมตร

4. การตรวจทางรงัสี แมวาในระยะแรกจะมีลักษณะของขอบวมแดง แตเมื่อเปนนาน

ข้ึน จะทําลายกระดูก กระดูกกรอนทัว่ไปและผิดรปู

สรุป ในการที่จะประเมินวาผูปวยเปนโรคขออกัเสบรมูาตอยดหรือไม จะตองมี

อาการอยางนอย 7 ใน 11 ขอ และอาการทางขอตั้งแตขอ 1-5 จะตองเปนติดตอกัน

อยางนอย 6 สัปดาห

การวนิจิฉยัโรคขออกัเสบรมูาตอยดตามเกณฑของ American Rheumatism

Association

1. ขอฝดแข็งตอนเชา (Morning stiffness)

2. เมื่อเคลื่อนไหวขอ จะรูสึกปวดและกดเจ็บอยางนอยที่สดุ 1 ขอ

3. มีการบวมของขออยางนอย 1 ขอ ตดิตอกนัเปนเวลาไมนอยกวา 6 สัปดาห

4. มีอาการบวมของขออืน่ๆ อีกอยางนอย 1 ขอ ภายใน 3 เดือน ตามหลังขอ

อันแรก

5. มีการบวมของขอเดียวกนัทั้งสองขาง

6. มีปุมใตผิวหนัง (Subcutaneous nodule)

7. การถายภาพรังสขีอที่เปนโรคจะพบลักษณะตอไปนี ้

7.1 ชองวางของขอแคบลง

7.2 กระดูกรอบๆ ขอบางลง

7.3 บางครัง้มีการทําลายกระดูกออนของขอ

8. ตรวจเลือดพบรูมาตอยดแฟคเตอรไดผลบวก

Page 9: การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

9. เจาะนํ้าในขอมาตรวจ เมื่อน้ําในขอทําปฏิกิริยากับกรดน้ําสม จะเกิดแข็งตวั

เปนล่ิม synovial fluid + glucial acetic acid clot แสดงวาเกิด precipitation เปน

ตะกอนสขีาว เรียกวา mucinprecipitation test

10.เมื่อนํา synovial membrane มาดดูวยกลองจุลทศันจะเห็นลักษณะ

เปลี่ยนแปลงดงันี ้

10.1 synovial villi มี hypertrophy คอนขางมาก

10.2 พบเม็ดโลหติขาว ซึ่งสวนใหญเปน lymphocytes หรือ plasma cells

ลอมรอบ synovial cells สวนที่อยูพืน้ผิวของ synovial membrane ซึ่งแสดงถงึมี

การอักเสบอยางเรื้อรังของ synovial membrane และตอไปจะรวมตัวกนัเปน

lymphoid nodules

11. เมื่อนําปุม (nodules) มาดูดวยกลองจุลทศัน จะเหน็ลักษณะเปน granulation

tissue รวมกลุมเปนกอน ซึง่ตรงกลางจะเปนพวกเซลลตาย (cell necrosis)

ลอมรอบดวย fixed cell, peripheral fibrosis และ chronic inflammatory cells

ขอวนิจิฉยัทางการพยาบาล

1. มีภาวะความเจ็บปวดและขอแข็งเนื่องจากมีการอกัเสบของขอและกลามเนือ้

2. การเคลื่อนไหวรางกายไมเปนปกต ิเนื่องจากความเจ็บปวดและความพิการ

3. ชวยเหลือตวัเองไดนอยเนื่องจากความเจ็บปวด ความพิการ ความออนเพลยี

4. อัตมโนทศันมีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากภาพลักษณของตนเองเปลี่ยนไป

5. ผูปวยรบัประทานอาหารไดนอย น้ําหนักลด ซีด

6. ขาดความรูความสนใจเกี่ยวกบัโรค

การวางแผนการพยาบาล

วนิจิฉยัการพยาบาลขอ 1

มีภาวะความเจ็บปวดและขอแข็ง เนื่องจากมีการอักเสบของขอและกลามเนื้อ

จดุประสงคการพยาบาล

บรรเทาความเจ็บปวดและความไมสุขสบาย

เกณฑในการพยาบาล

1. ผูปวยสามารถเคล่ือนไหวขอได โดยไมมคีวามเจบ็ปวด

2. การไดรบัยาแกปวดลดนอยลงหรอืไมตองรบัยาแกปวด

Page 10: การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

3. ผูปวยสามารถพักผอนได

ปฏบิตักิารพยาบาล

1. แนะนําใหผูปวยพกัอยางสม่ําเสมอ เพื่อบรรเทาอาการปวดและไมใหเหนื่อย

เกินไป ผูปวยควรนอนหลบัในตอนกลางคนื วันละ 8-9 ช่ัวโมง และกลางวนัวนัละ

ครัง้ หรือมากกวา ซึ่งพักประมาณ 30-60 นาที ที่นอนควรเปนทีน่อนที่แนน และหนุน

หมอนเพียง 1 ใบ หนนุพยงุสวนคอเพื่อความสุขสบายของผูปวย

2. สอนใหผูปวยนอนควํ่าวันละ 2 ครัง้ เพื่อปองกันขอตะโพกและขอเขาไมใหมี

ความพิการในทางอ โดยเฉพาะขอที่มคีวามเจ็บปวด ไม ควรวางหมอนใตขอเพราะ

จะทําใหเกิดการหดรั้งของขอในทางอ

3. ประคบดวยความรอนและความเย็น

3.1 ในการประคบดวยความรอนเปยก ควรประคบนาน 15-30 นาท ี

เพือ่ใหกลามเนื้อคลายตวั โดยใชน้ําอุนหรือพาราฟนอุน สําหรบันิว้มือและมอื

3.2 การใชความเย็นประคบ เชน น้ําแข็ง ควรใชเมื่อมอีาการบวม แดง

ของขอ ซึ่งความเย็นจะชวยลดอาการบวมและปวด

4. นวดเบาๆ เพื่อใหกลามเนื้อคลายตวั ในการนวดไมควรนวดที่ขอโดยตรง

5. ใหยาแกปวด และตานการอักเสบตามแผนการรกัษาของแพทย และ สงัเกต

อาการขางเคียงของยาดวย

6. ขอที่เจ็บควรใสเครื่องพยุง (splint) ไว เพื่อใหขอนัน้ไดพกั ลดอาการปวด

และควรดูแลใหผูปวยทุกคนใสเครื่องพยุงขอทีป่วดในเวลากลางคนืดวย การใช

เครื่องพยุงที่ขอมือนั้น ควรใสในทาที่ขอมือกระดูก ชิ้นเล็กนอย ถาผูปวยมอีาการ

เจ็บปวดที่กระดูกสนัหลงับริเวณคอ ควรใสเครื่องพยุงคอ (cervical collar) เพื่อ

ปองกันการเคลื่อนไหวของคอ

วนิจิฉยัการพยาบาลขอ 2

การเคลือ่นไหวรางกายไมเปนปกต ิเนือ่งจากความเจ็บปวดและความพิการ

จดุประสงคการพยาบาล

เพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อและความสามารถในการเคลื่อนไหว

เกณฑในการพยาบาล

1. สามารถเคลื่อนไหวขอไดตามปกต ิ

2. กลามเนื้อไมลีบ ขอไมติด

Page 11: การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

ปฏบิตักิารพยาบาล

1. ดูแลใหผูปวยออกกําลงักายเพือ่ใหขอตอตางๆ เคลื่อนไหวเพิ่ม ความ

แข็งแรงของกลามเนือ้ และใหการไหลเวียนของโลหติดีข้ึน โดยกระตุนใหผูปวย

ออกกําลงักายทุกวนั ตามโปรแกรมการออกกําลงักาย เมื่อไมมภีาวะการอักเสบของ

ขอ ควรหลีกเลี่ยงการออกกําลงักายมากเกินไป ควรจะหยุดออกกําลังเมือ่รูสึกเหนื่อย

ควรใหผูปวยพยายามเหยียดขอตางๆ ออก เพราะขอจะติดในทางอ และควร

หลีกเลี่ยงไมใหม ีexternal-relation ของแขนขา

2. ใหผูปวยออกกําลังแบบ isometric exercise เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของ

กลามเนื้อ ดูแลใหผูปวยเคลื่อนไหวขอตางๆ1-2ครัง้ทกุวนั เพื่อปองกันไมใหขอติด

และควรดูแลใหเคลื่อนไหวหลังประคบความรอน

3. หลีกเลี่ยงการจับขอที่อกัเสบอยางแรงๆ ในผูปวยบางคนจําเปน ตองจับขอ

อยางเบาๆ เนื่องจากพยาธิสภาพของขอถูกทําลายมากแลว และมแีนวโนมที่ขอจะ

เคลื่อนหลุดจากกนัเปนบางสวนได

4. ถาสามารถควบคุมการอกัเสบของขอไดแลว ควรใหผูปวยไดออกกําลงักาย

แบบ progressive resistive exercise เพื่อใหกลามเนือ้ทีค่วบคมุการทํางานของขอ

นั้นๆ แข็งแรง หรืออยูในสภาพที่ดทีี่สดุ แนะนําใหใชไมยันรักแรหรือไมเทา (cane)

ชวยในการเดิน การใชไมเทาใหถือไมเทาดวยมือขางทีอ่ยูตรงขามกับขอที่มพียาธิ

สภาพ เชน ถาเปนโรคขอตะโพกขางซายใหถือไมเทาดวยมอืขวา เพื่อลดแรงที่จะลง

บนขอตะโพก หรอืขอเขาขางที่เปนโรค

วนิจัฉยัการพยาบาลขอ 3

ชวยเหลือตวัเองไดนอยเนือ่งจากความเจ็บปวด และความพกิาร ความ

ออนเพลีย

จดุประสงคการพยาบาล

เพื่อชวยเหลือตนเองในการปฏิบตัิกิจวตัรประจําวนัไดดีที่สุด

เกณฑในการพยาบาล

ผูปวยสามารถทํากิจวัตรประจําวนัไดโดยไมมีอาการเจ็บปวดขอ

ปฏบิตักิารพยาบาล

1. ดูแลใหผูปวยไปทํากายภาพบําบัด พรอมกบัฝกการใชมือทีอ่าชวีบําบัด ตาม

เวลาที่กําหนด

2. อธิบายใหผูปวยเขาใจเก่ียวกบัการรกัษา โดยการทํากายภาพบําบัด ซึ่ง

อาจจะตองใชเวลานาน และใหกําลงัใจกับผูปวยเมื่อผูปวยยังทํากิจกรรมบางอยาง

Page 12: การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

ไดไมดี เมือ่ผูปวยกลับจากการฝกใชมอืที่แผนกอาชีวบําบัด ควรใหผูปวยพักสัก

ระยะ แลวกใ็หผูปวยฝกการทํา กิจวตัรประจําวนัดวยตนเอง ถาผูปวยไมเกิดความ

เจ็บปวด

3. สนับสนุนใหผูปวยทํากิจวัตรประจําวันดวยตนเอง เชน รับประทานอาหาร

หวีผม แปรงฟน ลางหนา

วนิจิฉยัการพยาบาลขอ 4

อัตมโนทัศนมีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากภาพลักษณของตนเองเปลี่ยนไป

จดุประสงคการพยาบาล

เพื่อใหผูปวยมีอตัมโนทศันที่ดี

เกณฑในการพยาบาล

1. ผูปวยยอมรับสภาพตัวเอง

2. สามารถปรับตัวได เขาสังคมได

ปฏบิตักิารพยาบาล

1. สนับสนนุใหกําสงัใจผูปวย และอธบิายใหผูปวยเขาใจถงึผลกระทบ

ของโรคตอครอบครัวและการอยูในสงัคม

บทบาทของอาชวีบําบัด สามารถทําใหผูปวยอยูในครอบครวั และในสงัคมไดอยาง

มีความสขุ เพื่อใหผูปวยยินดีรบัการฟนฟูสมรรถภาพ

2. สงเสริมใหผูปวยชวยเหลือตัวเอง ซึง่เปนการลดปญหาทางดานจิตใจ

เก่ียวกับความผิดปกตริางกาย และเปนการเพิม่ความมัน่ใจใน ตัวเอง

3. ใหโอกาสผูปวยระบายความคบัของใจ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง

บทบาทของตัวเอง ซึ่งจะทําใหผูปวยเหน็ความสาํคัญของตัวเอง

4. สงเสริมใหผูปวยเขารวมกิจกรรมในกลุมผูปวยโรคเดียวกนั ซึ่งจะทํา

ใหผูปวยลดความเสียใจเกี่ยวกับภาพลักษณที่เปลี่ยนไป และเพิ่ม ความเช่ือมั่น

ในตัวเอง

5. สงเสริมใหผูปวยรูจักปรบัตัวใหเปนแบบอยางที่ดี โดยใชความรูใน

การปรับตวั เพื่อเพิม่ความมัน่ใจในตนเอง

6. สนับสนุนใหกําลังใจชวยดูแล และจัดกลุมผูปวยขออักเสบใหมี

กิจกรรมรวมกัน

วนิจิฉยัการพยาบาลขอ 5

ผูปวยรบัประทานอาหารไดนอย น้ําหนกัลด ซีด

จดุประสงคการพยาบาล

Page 13: การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

เพื่อใหผูปวยไดรบัสารอาหารเพียงพอ

เกณฑในการพยาบาล

1. นํ้าหนกัผูปวยเพิ่มข้ึนไมเกินมาตรฐาน

2. รับประทานอาหารไดครบหมูครบทุกมื้อ

ปฏบิตักิารพยาบาล

1. จัดอาหารที่ผูปวยชอบ และมีคุณคาครบถวนทุกหมู โดยเนนใหมอีาหาร

ประเภทโปรตนี เหลก็ และวิตามนิสงู เพื่อเสริมสรางเนื้อเย่ือ สําหรบัผูปวยที่เบือ่

อาหาร ควรใหรับประทานทีละนอยแตใหบอยๆ

2. ชั่งน้ําหนักผูปวยทกุสัปดาห เพือ่ประเมินสภาพความสมบรูณของรางกาย

3. ดูแลจัดอาหารวางสลับระหวางมื้อ เชน น้ําผลไม

วนิจิฉยัการพยาบาลขอ 6

ขาดความรูความสนใจเกี่ยวกับโรค

จดุประสงคการพยาบาล

เพื่อใหผูปวยมีความรูเกี่ยวกบัโรคและยอมรบัสภาพการเจ็บปวย เกณฑในการ

พยาบาล

1. ผูปวยสามารถอธิบายถงึการดําเนนิของโรค และการรักษาที่ผูปวย

ไดรบั

2. บอกถงึแผนการมารักษาอยางตอเนือ่งได

ปฏบิตักิารพยาบาล

1. ใหความรูเก่ียวกับโรคและแผนการรกัษาพยาบาล เพือ่ลดความวติกกังวล

2. อธิบายถึงความสาํคญัในการมาตรวจรักษาอยางตอเนื่อง

3. อธิบายถึงการปฏบิัตติน การออกกําลังกายและการสงัเกตอาการผิดปกติ

ตางๆ เชน กอนใตผิวหนงั

4. แนะนําใหผูปวยหลีกเลี่ยงตอองคประกอบที่สงเสริมใหเกิดภาวะการอักเสบ

ของขอ เชน ความเครียด การออกกําลงักายอยางหักโหม การพักผอนไมเพียงพอ

การอยูในที่อากาศเย็น และการรักษาทีไ่มถกูตอง ไมตอเนื่อง

การประเมนิผล

Page 14: การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

อาการเจ็บปวดขอนอยลง ขอไมอักเสบ เคล่ือนไหวขอไดมาก รับประทานยา

แกปวดนอยลง กลามเนื้อไมลบีเล็ก ชวยเหลือตวัเองไดโดยทํากิจวตัรประจําวนัได

เขาสงัคมและมีการสนทนากบัสมาชกิในครอบครวัและผูอ่ืนได สนใจเขารวมใน

กิจกรรมตางๆ รับอาหารไดเพียง พอ น้าํหนักไมเกินมาตรฐาน มีความรูเกี่ยวกบัเรื่อง

โรค การปฏิบตัตินและยาทีรั่กษา และการมาตรวจรักษาอยางตอเนือ่ง

การพยาบาลตอเนือ่ง

ผูปวยเมื่อกลับไปบาน จะตองปฏบิัตติัวเพื่อหลีกเล่ียงตอการเกิดภาวะอกัเสบ

ของขอ ซึ่งจะตองมีการปฏบิัตติัวอยางถูกตองและตอเนือ่งดังตอไปนี ้

1. หลีกเลี่ยงส่ิงที่จะทําใหเกิดการอักเสบของขอมากข้ึน เชน การออกกําลงั

กายอยางหักโหม ยกของหนัก ทานอนไมถูกตอง

2. รับประทานยาใหตรงเวลาและตอเนือ่ง ไมควรหยุดยาเองเมื่ออาการของโรค

บรรเทาลง สงัเกตอาการขางเคียงของยา เมื่อเกิดข้ึนควรพบแพทยเพื่อรับคําปรึกษา

ทันท ี

3. ควรออกกําลังกายหรอืบริหารขออยางสมํ่าเสมอ เมือ่อาการปวดลดลง เพื่อ

ปองกันความพิการของขอ และกลามเนือ้ใกลเคียงกบัขอที่อักเสบ

4. เนนถึงความสําคัญของการมาตรวจตามแพทยนัด และการมารักษาอยาง

ตอเนือ่ง

แนวทางรักษาและปองกันโรครมูาตอยด

Page 15: การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

‘โรครูมาตอยด’ หรือ ‘โรคขออกัเสบรมูาตอยด’ โรคนีห้ากเกิดข้ึนแลวยอมนําความ

ทรมานมาใหผูปวยอยางมาก เพราะเปนโรคที่กอใหเกิดอาการอักเสบของขอชนิด

รุนแรง หากเขารบัการรกัษาชาเกินไปรวมถงึไดรับการรักษาอยางไมถูกตองก็ยอม

สงผลใหขอเกิดความบดิเบี้ยว ไมปกติเหมือนเดิมและบางรายอาจมอีาการหนกัถึงข้ัน

พิการตามมาไดดวย ดังนั้น หากคุณมีอาการของโรคดังกลาวหรือยงัไมมีก็ตาม

การที่เราไมชะลาใจ โดยหมัน่ศกึษาทําความรูจักและรบัมือปองกนัตลอดจนเรยีนรูวิธี

รักษาก็ยอมทําใหเรารูเทาทันโรคและหากมีอาการในวนัใดวนัหนึง่ เราจะไดรีบพบ

แพทยเพื่อตรวจหาสาเหตุรวมถงึรกัษาใหถกูตองอยางทันทวงทตีอไป ในวนันี้เรามี

แนวทาง วิธีการรกัษาและการปองกนัโรครูมาตอยดมาแนะนําสําหรับคนรักสขุภาพ

ใหไดทราบ เปนอยางไรนัน้ ตามมาดูกนัเลยคะ

วิธีการรักษาโรครูมาตอยด

1. รักษาดวยการทํากายภาพบําบัดขอ

– ผูที่มีอาการยังไมมากหรือเพิ่งเริ่มเปนใหมๆ สามารถรักษาดูแลดวยการประคบแบบ

รอนหรอืแชขอทีป่วดอกัเสบกบัน้ําอุน

– ใหผูปวยใสเฝอกชั่วคราวโดยเฉพาะเวลากลางคนืหรือตอนที่มอีาการปวดบวม

อักเสบมาก เพือ่ชวยลดอาการปวดและยังเปนการปองกันไมใหขอเกิดการผดิรูปได

– ผูปวยควรหมั่นขยับตัวเคล่ือนไหวใหมากที่สุดเทาที่จะทําได เปนการปองกันไมให

ขอติดแข็ง โดยเฉพาะขอนิ้วมอืและขอมือ

– ควรหมั่นออกกําลงักายเบาๆ เพื่อใหกลามเนื้อมีความแข็งแรง โดยเฉพาะกลามเนื้อ

ในสวนของนิว้ มือและแขน โดยอาจใชวิธีบีบฟองน้ํา บบีลูกบอลยาง ลูกเทนนิสหรอื

บรหิารกลามเนื้อมือกบัเครื่องออกกําลังกายที่ใชมอืบบีประเภทอืน่ๆ รวมดวย

นอกจากนี้ การยกน้ําหนัก 1-3 กิโลกรัมก็นบัเปนทางเลือกในการชวยสรางความ

แข็งแรงใหกลามเนื้อไดเชนเดียวกัน

– พยายามกระจายแรงกําลังในการใชขอออกไปหลายขอ ไมเจาะจงใชแคขอใดขอ

หนึง่เกินไป เชน คุณอาจจบัส่ิงของดวยมือทั้งสองขางแทนการใชมือขางเดียวใน

การหิว้จับ หากจะใชขอเล็กกห็ันมาใชขอใหญออกแรงแทน

– ปรับความเปนอยูในบานใหมีความเหมาะสม เชน หากใชประตูแบบลูกบิดก็เปลี่ยน

มาใชแบบเล่ือนเปดปดแทน หรือหากทีบ่านใชกอกน้ําแบบหมนุเปดปดก็เปลี่ยนมาใช

แบบที่เปนคนัโยกแทนดีกวา แบบนีก้็จะทําใหเราสามารถปองกันไมใหอาการของ

โรครูมาตอยดเกิดความรนุแรงหนักขึ้นไดแลวคะ

Page 16: การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

2. การใชยากลุมระงับอาการอกัเสบแตไมใชสเตียรอยด

– ผูปวยที่มอีาการไมรุนแรงนกั การรกัษาดวยการใชยาคอนขางสามารถชวยลด

อาการปวดบวมของขอไดเปนอยางด ี แตหากคุณเลือกใชตัวยาใดตัวยาหนึ่งแลวก็

ควรทานติดตอกันเปนเวลาอยางนอย 2 สัปดาห พรอมเฝาสังเกตอาการหากพบวา

อาการไมดีข้ึนหลังจากทานยาจึงควรเปลี่ยนเปนตัวยาชนิดอืน่ตอไป

– ผลขางเคียงที่เกิดข้ึนจากการใชยาในกลุมเหลานี้ คือ ผูปวยจะมีอาการคลื่นไส

วิงเวียนศรีษะ ปวดศรีษะ แสบทอง ปวดทอง เกิดแผลในกระเพาะอาหาร บางรายอาจ

มีอาการบวมตามบริเวณหนาแขนและขา ที่สําคญัไมควรใชยากับผูปวยที่เปนโรคไต

วายชนิดเรื้อรงัและควรระมัดระวังสําหรับกรณีการใชยาในผูสงูอายุดวย

– ยากลุมที่ใชรักษาสาํหรับผูปวยโรครมูาตอยดในปจจุบนันัน้ มียาตวัใหมที่สามารถ

รักษาผูปวยได โดยจะสงผลกระทบใหเกิดเปนแผลในกระเพาะอาหารไดนอยลง

ทวาตัวยาจะมรีาคาคอนขางสงู ดังนัน้ หากจําเปนตองเลือกใชจริงๆ ควรพิจารณาใช

กับผูปวยทีม่รีางกายเส่ียงตอการเปนแผลในทางเดินอาหาร เชน ผูที่เคยเปนแผลใน

ทางเดินอาหารและผูสงูอาย ุ

3. รักษาดวยการใชยากลุมสเตียรอยด

ยาในกลุมสเตียรอยดนัน้จัดเปนยาที่มีผลขางเคียงอยางรนุแรง แตสามารถใชไดทัง้

กินและฉีด โดยจะฉีดเขากลามเนือ้หรอืฉีดเขาขอ อีกทั้งสมควรนํามาใชกต็อเมื่อมี

อาการอกัเสบขั้นรุนแรง หากขณะเดียวกัน ก็ไมควรใชในปริมาณสงูหรือใช

ติดตอกนัเปนเวลานานดวย ดวยเพราะผลขางเคียงของตวัยานัน้แรงมากไปจึงอาจ

สงผลใหเกิดอาการรายแรงตางๆ ตามมา เชน กระดูกพรนุ ติดเชื้องายและเกิดไตวาย

เฉียบพลัน แตหากหยุดใชยาอาการอกัเสบก็จะกลับมารนุแรงข้ึนไดอีก ดังนัน้ จงึ

พิจารณาใชก็ตอเมื่อมอีาการอักเสบมากจริงๆ และควรลดปรมิาณการใชใหนอยลง

เมื่อพบวาอาการทุเลาข้ึนแลว

4. รักษาดวยยากลุมยับยั้งขออักเสบรูมาตอยดแตออกฤทธิ์ชา

– จัดเปนยาทีค่อนขางมีผลขางเคียงและอันตรายสงู แพทยจะพิจารณานาํมาใช

รักษาผูปวยก็ตอเมื่อรักษาผูปวยดวยยากลุมอืน่แลวไมไดผลหรือในผูปวยที่มีอาการ

ของโรคอักเสบรนุแรงมาก มรูีมาตอยดแฟคเตอรในกระแลเลือดสูง แตผลเสยีคือ

ยากลุมนี้คอนขางออกฤทธ์ิชาและตองใหยาติดตอกนัเปนเวลาอยางนอย 2 เดือนข้ึน

ไปจึงจะเริ่มมีผลปรากฏ

Page 17: การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

– สําหรับยาคลอโรควนินับเปนตัวยาทีมี่ความปลอดภัยและนิยมนํามาใชรักษาผูปวย

บอย เนื่องจากเปนยารกัษาโรคมาลาเรีย แตมคีุณสมบตัิที่สามารถชวยลดอาการ

อักเสบของโรครูมาตอยดพรอมกันได โดยแพทยจะใชพรอมกับยาในขอ 2 ทวาจะมี

ผลขางเคียงแกรางกายเกิดข้ึนดวย ไดแก มีอาการวงิเวียนศรีษะ คลื่นไส ตาพรามวั

มีผื่นคนั ผิวแหงและผวิหมองคล้ํา หากตองการลดอาการทางผิวหนงัใหนอยลง

ผูปวยควรหลีกเลี่ยงการเผชิญกับแสงแดดโดยตรง อาการทางผวิหนงัก็จะทเุลาข้ึน

ได แตหากผูปวยมีผลขางเคียงหนกัมาก เชน ตาพรา หากเปนเชนนี ้สมควรใหหยุด

ใชยาคะ

– ยาตัวอืน่ๆ ทีอ่ยูในกลุมนี้ เชน ยา MTX ยาเกลือทองหรือตัวยาที่มีฤทธิ์เขาไปกด

ภูมิคุมกนัโรคภายในรางกายใหทํางานต่ําลง นอกจากนี ้ยังพบวามตีัวยาใหมๆ ที่เริ่ม

ถูกนํามาใชอีกหลายชนิดทีเดียว หากก็นบัเปนยาอันตรายซึ่งมาพรอมผลขางเคียง

สงูมาก กรณีจําเปนตองใชรักษาจริงๆ แนะนําใหใชโดยอยูภายใตการดแูลของ

แพทยอยางเครงครดัจะดีกวา

5. รักษาโดยการผาตดั

– สําหรับการผาตัดโรครูมาตอยดน้ันมดีวยกันหลากหลายวิธี ไดแก ผาตัดเพือ่เลาะ

เอาเย่ือบุขอทีมี่อาการอักเสบออก ผาตัดเพือ่เย็บซอมหรือยายเสนเอ็น ผาตดัใสขอ

เทียมแทน ผาตัดเชื่อมขอใหตดิกัน และผาตัดกระดูกเพื่อปรับแนวของขอใหตรงข้ึน

ทวาอยางไรก็ตาม การผาตัดนั้นก็ยังถือเปนการรักษาผูปวยโรครูมาตอยดเพียงแค

ปลายเหตุเพื่อชวยบรรเทาอาการรนุแรงที่เกิดข้ึนเทานัน้

จะเห็นไดวาการรกัษาโรครมูาตอยดมีแนวทางรักษาหลากหลายวิธดีวยกัน แตละวิธี

ก็ลวนมาพรอมผลขางเคียงทัง้สิ้น ซึ่งตองใชวิธรีักษาดวยยาในกลุมที่มีผลขางเคียง

และอันตรายสงู อีกทัง้ยังเปนการรักษาแบบประคองอาการไมใหอักเสบรุนแรงหนัก

แตเพียงเทานั้น ตลอดจนถึงวิธรีกัษาดวยการผาตัดหลายประการซึง่ก็แลวแตอาการ

ของผูปวย

ทั้งนี้ ทัง้นัน้ การที่คนเราจะมีสขุภาพรางกายที่แข็งแรงไดจึงควรเริม่จากการดูแล

ตัวเองตั้งแตยังเยาววัย หรอืตัง้แตสมัยหนุมสาวไมควรปลอยปละละเลยใหเขาสูวัย

กลางคนหรือปลอยใหรางกายเขาสูวัยเลข 3-4 ไปแลว จึงคิดจะพบแพทยเพือ่รักษา

อาการผิดปกติหรือกรณีที่เกิดการเจ็บปวยหนกัจรงิๆ

สาํหรับวิธีดูแลสุขภาพข้ันเบื้องตนก็แคทานอาหารที่มปีระโยชน ออกกําลังกายอยู

เสมอ โดยเฉพาะการออกกําลงักายดวยการวายน้ํานับวาเปนกีฬาที่ชวยถนอมกระดูก

Page 18: การพยาบาลผู ป วยโรคข ออักเสบ (Arthritis)

ขอ หรอืปองกนัไมใหขอทุกสวนของรางกายไดรับความกระทบกระเทอืนไดดีเย่ียม

ที่สุด เมือ่เทียบกับการออกกําลังกายประเภทอ่ืนๆ หากคุณทําไดเบื้องตนตามนี ้การมี

สขุภาพดีก็ยอมอยูไมไกลแลวคะ หรอือยางนอย… เราก็ยังมั่นใจไดวาเมือ่รางกาย

แข็งแรงอาการเจ็บปวยตางๆ ยอมมาเยือนเราไดนอยลงที่สดุ