95
คูมือการเขียนวิทยานิพนธ สํานักวิชาสารสนเทศศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ธันวาคม 2552

คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

คูมือการเขียนวิทยานิพนธ สํานักวชิาสารสนเทศศาสตร มหาวิทยาลยัวลัยลกัษณ ธันวาคม 2552

Page 2: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

(1)

สารบัญ

หนา

คํานํา…………………………………………………………………………………………. (1) สารบัญ........................................................................................................................ (2) บทที่ 1 สวนประกอบของวทิยานิพนธ........................................................................ 1 1.1 สวนนํา................................................................................................... 1 1.1.1 ปกนอก.......................................................................................... 1 1.1.2 ใบรองปก....................................................................................... 2 1.1.3 ปกใน............................................................................................. 2 1.1.4 หนาอนุมัติ...................................................................................... 2 1.1.5 บทคัดยอ........................................................................................ 2 1.1.6 กิตติกรรมประกาศ.......................................................................... 3 1.1.7 สารบัญ.......................................................................................... 3 1.1.8 สารบัญตาราง................................................................................. 3 1.1.9 สารบัญภาพ................................................................................... 3 1.1.10 คําอธบิายสญัลักษณ คํายอ และอักษรยอ........................................ 4 1.2 สวนเนื้อหา………………………………………………………………….. 4 1.2.1 สวนเนือ้เรื่องวิทยานพินธสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ.......................... 4 ก. บทที่ 1 บทนาํ........................................................................... 4 1) ความสาํคัญและที่มาของปญหา........................................... 4 2) วัตถุประสงค......................................................................... 4 3) ขอบเขตของงาน................................................................... 4 4) ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ..................................................... 4 5) ผลที่จะไดรับเม่ือเสร็จส้ินโครงการ........................................... 5

Page 3: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

(2)

สารบัญ (ตอ)

หนา

6) ขั้นตอนในการดําเนินงาน...................................................... 5 7) อุปกรณที่ใชในการพฒันางาน................................................ 5 ข. บทที่ 2 ทฤษฎแีละเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ...................................... 5 1) เทคโนโลยีที่นํามาใชในการพัฒนาระบบ................................. 5 2) ทฤษฎีที่เกีย่วของ.................................................................. 5 3) งานวิจัยหรือระบบที่ใกลเคียง................................................. 5 ค. บทที่ 3 การวิเคราะหระบบ.......................................................... 6 1) องคกรที่เกี่ยวของ.................................................................. 6 2) เทคนิคการรวบรวมขอมลู...................................................... 6 3) กระบวนการทํางานของระบบปจจุบัน..................................... 6 4) การวิเคราะหความตองการของผูใช........................................ 6 ง. บทที่ 4 การออกแบบระบบ........................................................... 6 1) สถาปตยกรรมของระบบ........................................................ 6 2) การออกแบบกระบวนการ...................................................... 7 3) การออกแบบสวนที่ใชในการจัดการขอมูล............................... 7 4) การออกแบบอินพุต............................................................... 7 5) การออกแบบเอาทพุต............................................................ 7 จ. บทที่ 5 การพัฒนา ติดตั้ง และทดสอบระบบ................................. 8 1) การพัฒนาระบบ................................................................... 8 2) การติดตั้งระบบ.................................................................... 8 3) การทดสอบระบบ................................................................. 8 ฉ. บทที่ 6 สรุปผลและขอเสนอแนะ.................................................. 9 1) สรุปผล................................................................................ 9

Page 4: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

(3)

สารบัญ (ตอ)

หนา

2) ขอเสนอแนะ......................................................................... 9 1.3 สวนประกอบทายเรื่อง........................................................................... 9 1.3.1 รายการอางอิงหรือบรรณานุกรม....................................................... 9 1.3.2 ภาคผนวก...................................................................................... 10 1.3.3 ประวัติผูเขียน................................................................................. 10 บทที่ 2 รูปแบบและการพิมพวิทยานิพนธ................................................................ 25 2.1 กระดาษที่ใชพิมพ.................................................................................... 25 2.2 ตัวพิมพ................................................................................................... 25 2.3 การเวนทีว่างขอบกระดาษ........................................................................ 25 2.4 การลําดบัเลขหนา……………………………………………………………. 26 2.5 การเวนระยะระหวางบรรทัด..................................................................... 26 2.6 การยอหนา.............................................................................................. 26 2.7 การพิมพหัวขอ......................................................................................... 26 2.8 การพิมพตาราง....................................................................................... 27 2.9 การพิมพภาพประกอบ……………………………………………………….. 29 2.10 การพิมพชื่อทางวิทยาศาสตร................................................................... 30 บทที่ 3 หลักเกณฑการอางอิงในเนื้อหา.......................................................................... 37 3.1 การเขียนอางอิงแบบแทรกในเนื้อหา........................................................... 37 3.2 การเขียนอางอิงเชิงอรรถ........................................................................... 40 3..2.1 การอางถึงเอกสาร 1 เรื่อง โดยมีผูแตงที่เปนบุคคลเพียงคนเดียว....... 42 3.2.2 การอางถึงเอกสาร 1 เรื่อง แตมีผูแตง 2 คน.................................... 43 3.2.3 การอางถึงเอกสาร 1 เรื่อง แตมีผูแตง 3-5 คน………………………. 44

Page 5: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

(4)

สารบัญ (ตอ)

หนา

3.2.4 การอางถึงเอกสาร 1 เรื่อง แตมีผูแตงมากกวา 6 คน.......................... 45 3.2.5 การอางถึงเอกสารทีม่ีผูแตงเปนสถาบัน............................................ 45 3.2.6 การอางถึงเอกสารหลายเรื่องโดยผูแตงคนเดียวกนั………………..... 47 3.2.7 การอางถึงเอกสารหลายเรื่องโดยผูแตงหลายคน............................... 48 3.2.8 การอางถึงเอกสารกรณีที่ไมปรากฏนามผูแตง................................... 49 3.2.9 การอางถึงหนังสือแปล………………………………………………... 49 3.2.10 การอางถึงเอกสารที่เปนบทวิจารณ................................................ 50 3.2.11 การอางถึงเอกสารอันดับรองหรือเอกสารทุติยภมูิ…………………… 50 3.2.12 การอางถึงเอกสารที่เปนสวนหนึ่งของหนังสือรวมบทความ............... 50 3.2.13 การอางถึงเอกสารทั้งเลม............................................................... 50 3.2.14 การอางถึงเอกสารพิเศษ................................................................ 51 3.2.15 การอางถึงการบรรยาย/อภิปราย/สัมภาษณ.................................... 51 3.2.16 การอางถึงเอกสารอิเล็กทรอนกิส.................................................... 52 บทที่ 4 หลักเกณฑการเขียนรายงานการอางอิงและบรรณานุกรม.................................... 54 4.1 การเขียนรายการอางอิงสําหรับหนังสือท่ัวไป.............................................. 55 4.2 การเขียนรายการอางอิงหนังสือที่พิมพเนื่องในโอกาสพิเศษ......................... 61 4.3 การเขียนรายการอางอิงหนังสือแปล.......................................................... 62 4.4 การเขียนรายการอางอิงของหนังสือในกรณีตาง ๆ....................................... 62 4.5 การเขียนรายการอางอิงบทความในหนังสือ................................................ 65 4.6 การเขียนรายการอางอิงบทความจากวารสาร หนังสือพิมพ และสารานกุรม. 66 4.7 การเขียนรายการอางอิงวิทยานิพนธ.......................................................... 68 4.8 การเขียนรายการอางอิงรายงานการประชุม................................................ 70 4.9 การเขียนรายการอางอิงสื่อโสตทัศนและสื่ออิเล็กทรอนิกส........................... 71

Page 6: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

(5)

สารบัญ (ตอ)

หนา

4.10 การเขียนรายการอางอิงเอกสารจากอินเทอรเน็ต........................................ 73 4.11 การเขียนรายการอางอิงสิ่งพิมพประเภทอื่น ๆ............................................ 80 4.12 การเรียงลําดับรายการอางอิง……………………………………………….. 82 4.13 การใชเครื่องหมายวรรคตอนในรายการอางอิง........................................... 84 4.14 การพิมพเครื่องหมายวรรคตอนสําหรับการอางอิง...................................... 85 4.15 การใชคํายอในการเขยีนรายการอางอิง..................................................... 85 ภาคผนวก 86 ภาคผนวก ก คําแนะนําการจัดทําวิทยานพินธ…………………….…………….. 87

Page 7: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

บทที่ 1

สวนประกอบของวิทยานิพนธ

วิทยานิพนธเปนรูปเลมที่สมบูรณ มีสวนประกอบที่สําคัญ 3 สวน ดังนี้ 1.1 สวนนํา 1.2 สวนเนื้อหา 1.3 สวนประกอบทายเรื่อง

1.1 สวนนํา เปนสวนที่ครอบคลุมต้ังแตปกไปจนถึงสวนเนื้อหาของวิทยานิพนธ มีสวนประกอบและ

รายละเอียด ตอไปนี้

1.1.1 ปกนอก (Front Cover) ลักษณะของปกนอกตองเปนปกแข็งขนาด A4 วิทยานิพนธระดับปริญญาโทใชสีดํา ระดับปริญญาเอกใชสีน้ําเงิน สวนโครงงานและการศึกษาอิสระใชสีน้ําตาลเขม ตัวอักษรบนปกใหพิมพดวยอักษรสีทอง แบบปมลงบนเนื้อกระดาษทัง้ปก กาํหนดใหมีสัญลักษณและขอความ ดังนี ้

ก) ตรามหาวิทยาลัยวลัยลกัษณ (ขนาดกวาง 19 มม. สูง 33 มม.) ขอบบนของตราหางจากขอบกระดาษลงมา 1.5 นิ้ว

ข) ชื่อวิทยานิพนธ ใหระบุชื่อวิทยานิพนธทัง้ภาษาไทยและภาษาองักฤษ สําหรับภาษาอังกฤษใหใชตัวอักษรพมิพใหญในอักษรตัวแรกของคําแรกและของทุก ๆ คําเสมอ ยกเวนบพุบทและสนัธาน เวนแตบุพบท สันธานดังกลาวจะเปนคําแรกของชื่อ โดยชื่อวิทยานิพนธใหพิมพไวกลางหนากระดาษ หางจากตรามหาวิทยาลัยวลัยลกัษณหนึง่บรรทัด กรณทีี่มีความยาวเกนิกวา 1 บรรทัด บรรทัดถัดไปใหพิมพเปนรูปหนาจั่วกลับหวั ทัง้นี้ควรพจิารณาตัดคําใหมีความเหมาะสมดวย

Page 8: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

2

ค) ชื่อผูเขียนวทิยานพินธ ใหระบุชื่อวิทยานิพนธทัง้ภาษาไทยและภาษาองักฤษ เฉพาะชื่อและชื่อสกุลโดยไมตองใสคํานําหนานาม แตถามียศ ฐานันดรศักดิ์ ราชทินนามหรือสมณศักดิ์ ก็ใหระบไุวโดยใชอักษรยอ ใหพิมพไวกลางหนากระดาษ

ง) ชื่อปริญญาและชื่อสาขาวิชา ใหระบชุื่อทั้งภาษาไทยและภาษาองักฤษ พิมพตามลําดับไวกึง่กลางหนากระดาษระหวางชื่อผูเขียนกับชือ่มหาวิทยาลยั

จ) ชื่อมหาวทิยาลัยวลัยลกัษณ ใหระบุชื่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ไวกึ่งกลางหนากระดาษ

ฉ) ปการศึกษาทีจ่บ ใหระบุปการศึกษาที่จบโดยไมตองระบุคําวา พ.ศ. นาํหนา ไวกึ่งกลางหนากระดาษ

สําหรับสันปกพิมพดวยอักษรสีทอง ประกอบดวยชื่อและชื่อสกุลผูเขยีนโดยไมตองมีคํานาํหนาชือ่ ชื่อเร่ืองและปที่สําเร็จการศึกษา เรียงไปตามแนวนอนของสันปกโดยใหอักษรตัวแรกของชื่อผูเขียน อยูหางจากขอบสันปกตามแนวตั้ง 1 นิว้ ตามดวยชื่อเร่ืองและปที่สําเร็จการศึกษา จัดระยะใหเหมาะสมโดยใหหางจากขอบลางขึ้นมาครึ่งนิว้ สําหรับวิทยานิพนธที่เขียนเปนภาษาอังกฤษก็ใหพมิพในลักษณะเดียวกนั

1.1.2 ใบรองปก (Blank Page) เปนกระดาษปอนดอยางหนา 1 แผน ใหใสใบรองปกกอนหนาปกใน โดยใช

กระดาษปอนดอยางหนา 1 แผน

1.1.3 ปกใน (Title Page) หนาปกในพมิพขอความเชนเดียวกนักับปกนอก

1.1.4 หนาอนุมัติ (Approval Page) ประกอบดวย ชื่อวทิยานพินธ ชื่อผูเขียน สาขาวชิา คณะกรรมการที่ปรึกษา

วิทยานิพนธ และคณะกรรมการสอบวทิยานพินธ โดยองคประกอบเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลยัวลัยลักษณวาดวยการศึกษาข้ันบัณฑิตศกึษา พ.ศ. 2543 และ พ.ศ. 2549

1.1.5 บทคัดยอ (Abstract) เปนการสรุปเนื ้อความของวิทยานิพนธที ่กระชับ ชัดเจน ทําใหผูอานทราบถึง

เนื ้อหาของวิทยานิพนธอยางรวดเร็วและถูกตอง การเขียนบทคัดยอที่ดีควรเขียนใหตอเนื่องกันในลักษณะความเรียง โดยครอบคลุมถึงวัตถุประสงคและขอบเขตการวิจัย

Page 9: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

3

วิธีดําเนินการวิจัย เชน วิธีการเก็บขอมูล เครื่องมือที่ใช จํานวนและลักษณะของกลุมตัวอยางที่ศึกษา ผลการวิจัยโดยสังเขป การเขียนตองเขียนใหส้ันที่สุด ไมควรเกิน 300 คํา หรือตองไมเกินสองหนากระดาษ A4 และตองจัดพิมพทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยเรียงลําดับบทคัดยอภาษาไทยขึ้นกอน และตามดวยภาษาอังกฤษ ถาวิทยานิพนธเขียนเปนภาษาตางประเทศอื่น ใหพิมพบทคัดยอเพิ่มตามภาษาที่ใชเขียนวิทยานิพนธ

1.1.6 กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) เปนขอความแสดงความขอบคุณผูชวยเหลือ สนับสนุนและใหความรวมมือในการ

คนควาเพื่อทําวิทยานิพนธ แสดงถึงจรรยาบรรณทางวิชาการที่ผูวิจัยควรถือปฏิบัติ โดยพิมพคําวา “กิตติกรรมประกาศ” อยูกลางหนากระดาษ มีความยาวไมเกิน 1 หนา ทายกิตติกรรมประกาศใหพิมพชื่อและชื่อสกุลของผูเขียน โดยพิมพเยื้องไปทางดานขวามือของขอความ

1.1.7 สารบญั (Table of Contents) เปนสวนที่แสดงลําดับหนาของหัวขอเร่ืองทั้งหมดที่มีอยูในวิทยานิพนธ การพิมพ

แบงออกเปนบท โดยพิมพคําวา “สารบัญ” อยูกลางหนากระดาษ โดยระบุเลขที่บทและชือ่บทพรอมหมายเลขหนาตามที่ปรากฏในวิทยานิพนธ ถาวิทยานิพนธเปนภาษาไทยใหเขียนหนาสารบัญภาษาไทย ถาวิทยานพินธเปนภาษาอืน่ ใหเขียนหนาสารบัญเปนภาษาอังกฤษ

1.1.8 สารบญัตาราง (ถามี) (List of Tables) เปนสวนที่แสดงลําดับหนาของตารางทั้งหมดที่มีอยูในวิทยานิพนธ โดยพิมพคํา

วา “สารบัญตาราง” อยูกลางหนากระดาษ กรณีที่มีตารางในภาคผนวกใหพมิพรายการตารางผนวกตอในสารบัญตาราง

1.1.9 สารบัญภาพ (ถามี) (List of Figures) เปนสวนที่แสดงลําดับหนาของภาพทั้งหมดที่มีอยูในวทิยานพินธ โดยพมิพคําวา

“สารบัญภาพ” อยูกลางหนากระดาษ ชือ่หรือคําอธบิายภาพที่ปรากฏในสารบญัภาพตองตรงกบัทีป่รากฏในเนื้อเร่ือง กรณีทีม่ีภาพในภาคผนวกใหพิมพรายการภาพผนวกตอในสารบัญภาพ

Page 10: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

4

1.1.10 คําอธบิายสัญลักษณ คํายอ และอักษรยอ (List of Symbols, Abbreviations and Technical Vocabulary)

เปนสวนที่อธบิายความหมายของสัญลกัษณ โดยพมิพคําวา “ตัวยอและสัญลักษณ” อยูกลางหนากระดาษ คํายอและอักษรยอที่ใชในการเขียนวทิยานพินธ จะมีหรือไมก็ไดแลวแตความจาํเปน เพื่อใหผูอานเขาใจถึงความหมายของสัญลักษณ คํายอและอักษรยอที่ใชในวทิยานพินธเลมนัน้

1.2 สวนเนื้อหา เนื้อเร่ืองควรแบงออกเปนบทอยางชัดเจน ส่ิงสําคัญของสวนเนื้อเร่ืองในแตละบทควรมีการอางอิงในเนื้อหาดวยเสมอ เพื่อบอกแหลงที่มาของขอความทีน่ําเสนอหรือทีน่ํามาประกอบขอความในเนื้อเร่ืองที่ผูเขียนนาํเสนอ การอางอิงนับวาเปนสิ่งที่สําคัญเพราะเปนการแสดงหลกัฐานประกอบการเขียนและสรางคุณคา สรางความนาเชื่อถือตองานเขียนนัน้ (รายละเอียดการอางองิในเนื้อหาศึกษาเพิ่มเติมในบทที่ 3)

สําหรับรายละเอียดในสวนเนื้อเร่ืองของวทิยานพินธจะแตกตางไปตามสาขาวชิาที่เรียน จําแนกไดเปน 2 กลุม คือ วทิยานพินธหรือโครงงานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และวิทยานิพนธทางดานสังคมศาสตร รายละเอียดในสวนเนื้อเร่ืองสวนใหญจะคลายคลึงกัน เพียงแตการเรียงลาํดบัของเนื้อหาของวทิยานพินธทั้งสองสาขาจะแตกตางกนัเล็กนอย ขอใหนกัศึกษาพิจารณาเลือกใชใหเหมาะสมตามสาขาวิชาที่เรียนดวย

1.2.1 สวนเนื้อเร่ืองวทิยานพินธสาขาเทคโนโลยสีารสนเทศ ประกอบดวย บทนาํ ทฤษฎีและเทคโนโลยีที่เกีย่วของ การวิเคราะหระบบ การออกแบบระบบ การพัฒนา ติดตั้งและทดสอบระบบ และสรุปผลและขอเสนอแนะ ซึ่งแตละสวนมีรายละเอียดดังตอไปนี ้

ก. บทที ่1 บทนาํ เปนเนื้อหาที่ผานการนาํเสนอเพื่อพิจารณาโครงรางมาแลวและไดทําการปรับแก

ตามคําแนะนาํของกรรมการ เนื้อหาประกอบดวย 1) ความสาํคัญและที่มาของปญหา 2) วัตถุประสงค เพื่อตองการแกไขปญหาใด หรือปรับปรุงประสิทธิภาพของ

ระบบเดิมตามที่ระบุในขอ 1 อยางไร 3) ขอบเขตของงาน อธิบายฟงกชั่นหรือความสามารถของระบบที่จะพัฒนา

Page 11: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

5

4) ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ หมายถงึ ประโยชนที่องคกร หรือสังคมจะไดรับเมื่องานชิน้นี้เสร็จ (ไมใชประโยชนที่ผูทําไดรับ)

5) ผลที่จะไดรับเมื่อเสร็จส้ินโครงการ หมายถึง ส่ิงที่ไดเมื่อโครงการนีเ้สร็จไมวาจะเปนระบบทีเ่ปนซอฟตแวร หรือฮารดแวรหรือเปนกระบวนการทาํงาน

6) ข้ันตอนในการดําเนนิงาน หมายถงึ แผนปฏิบัติงานคราว ๆ ทีเ่ฉพาะเจาะจงกับโครงงานนี้ อธิบายโดยใช Gantt Chart

7) อุปกรณที่ใชในการพัฒนางาน แยกซอฟตแวรและฮารดแวรใหชัดเจนรวมทัง้ระบุ Specification ของฮารดแวร

ข. บทที ่2 ทฤษฎแีละเทคโนโลยีที่เกีย่วของ เปนสวนที่ใชอธิบายงานทีเ่กดิขึ้นกอนและเกี่ยวของกับงานวิจยันี ้ ตลอดจนการ

คนควาทฤษฎ ี แนวคิด เพื่อเปนการแสดงความรอบรูของผูวิจัยในหัวขอเร่ืองทีน่ํามาทําการวิจยั โดยการคนควาเอกสาร งานวิจัยและองคความรูที่เกี่ยวของกับงานนี ้เพื่อเปนการแสดงใหเห็นวาเรื่องที่ผูวิจยักาํลังดําเนินการวิจัยอยูนี้มีใครหรือหนวยงานใดเคยทําการวิจยั หรือศึกษาในแงมุมตาง ๆ หรือไม ใชวิธีการอยางไร และผลของงานวิจยัเหลานัน้เปนอยางไร

การเขียนจะนาํขอมูลที่คนความานัน้มาสรุป วิเคราะห และสังเคราะหเปนคําบรรยายทีม่ีลักษณะตอเนื่องกัน โดยอาจแยกวิเคราะหตามประเด็นของปญหา เนื้อหาประกอบดวย

1) เทคโนโลยทีี่นาํมาใชในการพัฒนาระบบ 2) ทฤษฎทีี่เกี่ยวของ 3) งานวิจยัหรือระบบที่ใกลเคยีง ทั้งนี้หวัขอยอยอาจเปลี่ยนแปลงใหสอดคลองกับหัวขอของงานวิจยั ในกรณีที่มี

การใชเครื่องมอืในการวเิคราะหและออกแบบระบบ ใหแสดงมาตรฐานของสัญลักษณตาง ๆ ของแผนผงั (Diagram) ที่ใชในงานวิจยัไวในบทนี ้

ในกรณีที่ใช Open Source ควรมีการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับ Open Source ตาง ๆ ซึ่งมีความสามารถในการนํามาใชพฒันาระบบได

Page 12: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

6

ค. บทที ่3 การวิเคราะหระบบ เปนบทที่กลาวถึงการศึกษาในเบื้องลกึของงานที่ตองการพัฒนา โดยอาศัยจุด

ต้ังตนจากสาเหตุของปญหาและอธิบายอยางละเอียดถงึวิธกีารที่ไดมาของขอมูลที่เกี่ยวของกับระบบหรืองานที่กําลงัดําเนนิอยูทั้งนี้โดยอาศัยทฤษฎีการวิเคราะหระบบ (Systems analysis) เนื้อหาประกอบดวย

1) องคกรที่เกีย่วของ 2) เทคนิคการรวบรวมขอมูล

เปนการอธิบายใหเขาใจวาผูทํางานวิจยัไดนําเทคนิคใดมาใชในการรวบรวมขอมูลพรอมทัง้อธิบายใหเขาใจวาใชอยางไร เชน การรวบรวมจากเอกสารสิ่งพิมพ, การสัมภาษณ, การใชแบบสอบถาม, การสุมและการเลือกกลุมตัวอยาง เปนตน 3) กระบวนการทาํงานของระบบปจจุบัน

แสดงใหเหน็วา ลักษณะงาน (business function) ขณะปจจุบันนี้ใชวิธีการใด ผูเกี่ยวของกับงานนี้คือใคร เกี่ยวของอยางไร งานประกอบดวยกระบวนการอะไรบาง มีเงือ่นไขหรือขอจํากัดในการทาํงานอยางไร ปญหาที่เกิดขึน้ในระบบเดิมเปนอยางไร 4) การวิเคราะหความตองการของผูใช (Requirement analysis)

ใหระบุความตองการของผูใชแตละกลุมทีไ่ดรวบรวมมา รวมทัง้ความตองการของระบบ (System requirement) ตอทาย ในกรณีที่ใช Open Source ควรมีการทาํ Decision Analysis วาเลือกใช Open Source นั้นเปนเพราะอะไร

ง. บทที ่4 การออกแบบระบบ เปนสวนที่ใชอธิบายรายละเอียดของระบบที่ไดพัฒนาขึน้ใหม โดยอาศัยองค

ความรูจากการดําเนินการศกึษาคนควาและวิเคราะหระบบ เพื่อใหเหน็เนื้องานที่ผูทําวิจัยไดพฒันาขึน้ เนื้อหาประกอบดวย

1) สถาปตยกรรมของระบบ (System architecture) แสดงใหทราบถึงองคประกอบดาน

Page 13: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

7

1.1) ฮารดแวร ระบบเครือขาย อุปกรณรับสงขอมูล อุปกรณแสดงผล ระบบปฏิบัติการ ตลอดจนซอฟตแวรอ่ืนๆจําเปนตองมีเพื่อใหระบบใหมทีพ่ัฒนาขึน้นี้สามารถใชงานได

1.2) กระบวนการ (Procedures) ในการใชงานหรือขอจํากัดตาง ๆ เพื่อใหระบบใหมดําเนินไดอยางมปีระสิทธิภาพ รวมถึงบทบาทของผูเกี่ยวของ

1.3) การศึกษาความเหมาะสมดานคาใชจาย (หากม)ี 2) การออกแบบกระบวนการ(Process Design)

แสดงใหเหน็ถงึขั้นตอนในการดําเนินงานของระบบที่ไดพฒันาขึน้ใหมวาประกอบดวยการประมวลผลกี่ข้ันตอน อะไรบาง โดยเขียนอธิบายขัน้ตอนของการทาํงานประกอบกับการใชแผนผัง (Diagram) ประเภทตางๆ หรือรูปภาพประกอบตามความเหมาะสม โดยการแสดงขั้นตอนนี้อาจใชการนําเสนอแบบลําดับข้ัน (Hierarchical approach) เพื่อลดขอจํากดัเรื่องพื้นที่กระดาษ

ในกรณีที่ระบบใหมมีรายละเอียดของขั้นตอนการทํางานเฉพาะ เชน อัลกอริทึมที่ใชในการจัดเสนทางเดนิรถ หรือ อัลกอริทมึที่ใชในการนําไปสูขอเสนอแนะหรือคําแนะนาํจากระบบ จะตองอธิบายใหชัดเจนวามีข้ันตอนยอยอยางไร 3) การออกแบบสวนที่ใชในการจัดการขอมูล (Data management Design)

แสดงใหเหน็ถงึโครงสรางและรายละเอยีดของขอมูลที่ใชในระบบทีพ่ัฒนาขึ้น โดยแสดงแบบจําลองขอมลู (Data model) ของขอมูลที่จัดเก็บทั้งหมด รวมทั้งรายละเอียดของขอมูลโดยใชตารางประกอบ (Data dictionary) 4) การออกแบบอินพุต (Input design)

แสดงใหเหน็ถงึหนาจอที่ออกแบบมาสําหรับผูใชแตละกลุมในการติดตอกับระบบ วาประกอบดวยหนาจอหลักอะไรบาง แตละหนาจอออกแบบมาเพื่ออะไร และใหผูใชใชงานอยางไร โดยแสดงใหเห็นวาผูพัฒนาไดนําหลักการในการออกแบบสวนที่ติดตอกับผูใช มาใชไดอยางถูกตองและเหมาะสม 5) การออกแบบเอาทพุต (Output design)

แสดงใหเหน็ถงึผลลัพธของระบบที่ไดพัฒนาขึ้นใหมสําหรับผูใชแตละกลุมวามีผลลัพธรูปแบบใดไดบาง เชน รายงานหรือการแสดงผลทางหนาจอกี่

Page 14: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

8

รูปแบบอะไรบาง โดยอธิบายการออกแบบผลลัพธจากระบบตามอุปกรณที่เลือกใช เชน การออกแบบการแสดงผลทางหนาจอ (screen design) และการออกแบบรายงาน (Report design) ซึ่งเปนผลลัพธโดยใชเครื่องพิมพ โดยแสดงใหเหน็วาผูพฒันาไดนาํหลกัการในการออกแบบสวนทีติ่ดตอกับผูใชมาใชไดอยางถูกตองและเหมาะสม

ในกรณีที่มกีารนําโปรแกรมหรือซอฟตแวรที่เปน Open Source และ/หรือซอฟตแวรอ่ืนมาใชรวมกับระบบ ใหอธิบายวิธีการกาํหนดหรือปรับคาตาง ๆ (Configuration) เพื่อใหซอฟตแวรนัน้ทาํงานไดตามที่ผูวจิัยกาํหนด ซึ่งสอดคลองกับการวิเคราะหระบบ

จ. บทที ่5 การพฒันา ติดตั้ง และทดสอบระบบ อธิบายกระบวนการพัฒนาหรือเขียนโปรแกรม การนาํระบบที่พฒันาขึ้นใหมไป

ติดตั้งเพื่อใชในหนวยงานหรือองคกรเปาหมาย ตลอดจนกระบวนการในการทดสอบระบบวาสามารถทํางานไดตรงตามวัตถปุระสงคที่ไดวางไวอยางครบถวนและสมบูรณ ควรอธิบายดวยวาในระบบใหมนี้มีขอความที่แสดงขอผิดพลาดในการใชงาน (Error message) ใดบางโดยใหสอดคลองกับการทดสอบระบบ เนื้อหาในบทนี้ประกอบดวย

1) การพัฒนาระบบ เปนการบรรยายเกีย่วกบัองคประกอบของโปรแกรม (Module) ซึ่งตองสอดคลองกับ Process ที่ออกแบบไวในบทที่ 4 เพื่อใหเขาใจวาระบบสารสนเทศประกอบดวยไฟลที่เปนโปรแกรมและขอมูลอะไรบาง มีความเกี่ยวของกนัอยางไร พรอมทั้งอธิบายใหเขาใจวาเทคโนโลยทีี่ใชในการพัฒนาระบบที่กลาวถึงในบทที่ 2 ไดนาํมาใชอยางไร 2) การติดตั้งระบบ เปนการบรรยายกระบวนการติดตั้งซอฟตแวร ฮารดแวร ตลอดจนองคประกอบอื่น ๆ ที่ระบบใหมตองใชตามสถาปตยกรรมระบบที่ไดอธิบายไวในบทที ่4 3) การทดสอบระบบ

Page 15: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

9

อธิบายวิธีการทดสอบระบบที่ผูทาํวิจยัใช ซึ่งไดแก Unit Test, Integration Test, System Test และ Acceptance Test โดยแสดงใหเห็นวาผูวิจัยใชการทดสอบในรูปแบบใดบาง และผลจากการทดสอบเปนอยางไร

ฉ. บทที ่6 สรุปผลและขอเสนอแนะ เปนบทสุดทายของรายงานวิจัย ผูวิจัยจะตองสรุปผลและใหขอคิดเหน็โดยใช

ความรูและประสบการณที่ไดจากการทํางานวิจัยนั้น เนือ้หาประกอบดวย 1) สรุปผล เปนการสรุปผลของการพฒันาระบบโดยอธิบายใหเขาใจวาระบบดงักลาวบรรลุวัตถุประสงคที่กาํหนดไวแตตนหรือไม อยางไร พรอมทั้งแสดงเหตุผลหรือสาเหตทุี่สงผลกระทบตอผลของงาน จากการดําเนินงานวิจยันี้ผูทําไดเรียนรูอะไรบาง 2) ขอเสนอแนะ ผูวิจัยไดใหขอเสนอแนะโดยอาศัยความรูและประสบการณของงานวิจยั โดยเนนในเรื่องการขยายงานวิจยันี้ไปสูงานวิจยัอื่นวามปีระเด็นที่ควรแกการสนใจในเรื่องใดบาง หรือระบบที่พฒันาขึ้นนี้สามารถนาํไปขยายผลตอไดในแนวทางใดบาง

1.3 สวนประกอบทายเรื่อง สวนประกอบทายเรื่อง ประกอบดวย 3 สวน คือ

1.3.1 รายการอางอิง (References) หรือ บรรณานุกรม (Bibliography) เอกสารอางอิงหรือบรรณานกุรม จะอยูตอจากสวนเนื้อหาและกอนภาคผนวก

ไดแก รายชือ่หนงัสือ ส่ิงพิมพอ่ืน ๆ โสตทัศนวัสดุ ตลอดจนวธิกีารที่ไดขอมูลมาเพื่อประกอบการเขียนวทิยานพินธเร่ืองนั้น ๆ กาํหนดใหใชคําวา “รายการอางอิง” ถารายการอางอิงมีเฉพาะเอกสารที่มีการอางถึงในเนือ้เร่ืองเทานัน้ แตถามีเอกสารอื่นที่เกี่ยวของแตไมไดนาํมาอางอิงและผูศึกษาประสงคจะนํามารวมไวดวย ใหใชคําวา “บรรณานุกรม” แทน ทั้งนีห้ากมีทัง้สองลักษณะใหพมิพบรรณานกุรมตอจากรายการอางอิงโดยขึ้นหนาใหม หรือจะมีเพียงอยางใดอยางหนึ่งก็ได

Page 16: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

10

1.3.2 ภาคผนวก (Appendix) ภาคผนวก เปนสวนที่ใหรายละเอียดเพิ่มเติมชวยใหผูอานเกิดความเขาใจชัดเจน

ข้ึน เชน แบบสอบถามหรือแบบสัมภาษณที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เปนตน เปนขอมูลที่ใชเขียนวทิยานพินธแตไมไดอางอิงโดยตรง หนาแรกของภาคผนวกใหข้ึนหนาใหม ใหพิมพคําวา “ภาคผนวก” อยูกึ่งกลางหนากระดาษไมตองพิมพเลขหนาแตนับหนารายละเอียดในภาคผนวกใหแสดงในหนาถัดไป ในกรณีที่มีหลายภาคผนวกใหใชเปน ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค...... (หรือ APPENDIX A, APPENDIX B…. ในวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ) หากมีความจําเปนอาจแบงยอยเปนภาคผนวก ก1 ภาคผนวก ก2….. อีกได แตละภาคผนวกใหข้ึนหนาใหม

1.3.3 ประวัติผูเขียน (Curriculum Vitae) การเขียนประวติัใหเขียนประวัติการศึกษาและการทาํงาน มีความยาวไมเกิน 1 หนา

ประกอบดวยขอความตาง ๆ ตามลาํดับ ดังนี ้ก. ชื่อ นามสกุล โดยมีคํานําหนา ไดแก นาย นางสาว นาง แตถามียศ ฐานันดรศักดิ์ ราชทินนาม สมณศักดิ์ ก็ใหใสไวดวย

ข. วนั เดือน ปที่เกิด ค. สถานที่เกิด (อําเภอและจังหวัด) ง. วุฒิการศึกษาตั้งแตข้ันปริญญาบัณฑิต หรือเทียบเทาขึ้นไป สถานศึกษาและปการศึกษาทีสํ่าเร็จการศึกษา

จ. ตําแหนงและสถานทีท่ํางานปจจุบัน ฉ. ผลงานดีเดนและรางวัลทางวิชาการ (ถาม)ี ช. ทนุการศึกษาเฉพาะที่สําคัญ

Page 17: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

11

ระบบสนับสนุนการประชุมสําหรับคณะกรรมการพิจารณา จัดสรรทุนอุดหนุนและติดตามประเมินผลการวิจัยและพัฒนา

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

Meeting Support System for Walailak Research and Development Committee

นวพร กิตติพัฒนบวร Nawaphon Kittiphattanabawon

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Science Program in Management

of Information Technology Walailak University

2546

ตัวอยางปกนอกและหนาปกในวิทยานิพนธหลักสูตรเกา

1.5 นิ้ว

เวน 1 บรรทัด

20 จุด, ตัวหนา

18 จุด, ตัวหนา

18 จุด, ตัวหนา

18 จุด, ตัวหนา

เวน 1 บรรทัด

Page 18: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

12

ระบบสนับสนุนการประชุมสําหรับคณะกรรมการพิจารณา จัดสรรทุนอุดหนุนและติดตามประเมินผลการวิจัยและพัฒนา

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

Meeting Support System for Walailak Research and Development Committee

นวพร กิตติพัฒนบวร Nawaphon Kittiphattanabawon

โครงงานนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

A Project Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Science in Management

of Information Technology Walailak University

2546

1.5 นิ้ว

18 จุด, ตัวหนา

20 จุด, ตัวหนา

18 จุด, ตัวหนา

เวน 1 บรรทัด

ตัวอยางปกนอกและหนาปกในโครงงานหลกัสูตรเกา

เวน 1 บรรทัด

18 จุด, ตัวหนา

Page 19: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

13

ระบบสนับสนุนการประชุมสําหรับคณะกรรมการพิจารณา จัดสรรทุนอุดหนุนและติดตามประเมินผลการวิจัยและพัฒนา

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

Meeting Support System for Walailak Research and Development Committee

นวพร กิตติพัฒนบวร Nawaphon Kittiphattanabawon

โครงงานนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

A Project Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Science Program in Management of Information Technology

Walailak University

2549

ตัวอยางปกนอกและหนาปกในโครงงานหลกัสูตรใหม

1.5 นิ้ว

18 จุด, ตัวหนา

20 จุด, ตัวหนา

18 จุด, ตัวหนา

เวน 1 บรรทัด

เวน 1 บรรทัด

18 จุด, ตัวหนา

Page 20: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

14

ตัวอยางสันปก

นวพร กิตติพัฒนบวร 2546

1 นิ้ว

1 นิ้ว

ระบบสนับสนุนการประชุมสําหรับคณะกรรมการพิจารณาจัดสรรทุน อุดหนุน และติดตามประเมินผลการวิจัยและพัฒ

นามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

Page 21: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

15

ชื่อวิทยานิพนธ ระบบสนับสนุนการประชุมสําหรับคณะกรรมการพิจารณาจัดสรรทุนอุดหนุนและ

ติดตามประเมินผลการวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ผูเขียน นวพร กิตติพฒันบวร สาขาวิชา การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะกรรมการที่ปรกึษา คณะกรรมการสอบ ………………………… ประธานกรรมการ ………………………… ประธานกรรมการ (ดร.สลิล บุญพราหมณ) (ดร.สลิล บุญพราหมณ) ………………………… กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร. จิรพล สังขโพธิ)์ ………………………… กรรมการ (อาจารยนพปฎล คงสมบัติ)

คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําหลักสตูรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ

เทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักวชิาสารสนเทศศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลกัษณ อนมุัติใหนับวิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลกัสูตรวทิยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ

………………………………………….

(รองศาสตราจารย ดร.พูลพงษ บุญพราหมณ) ประธานคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําหลกัสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตัวอยางหนาอนุมัติ

หมายเหต ุ กรณีเปนโครงงานใหเปลี่ยนจากคําวา “วิทยานพินธ” เปนคําวา “โครงงาน”

16 จุด

Page 22: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

16

(เวน 1 บรรทัด) ชื่อวิทยานิพนธ ระบบสนับสนนุการประชมุสําหรับคณะกรรมการพิจารณาจัดสรรทุนอุดหนนุและ

ติดตามประเมนิผลการวิจัยและพัฒนา มหาวทิยาลยั วลยัลักษณ ผูเขียน นวพร กิตติพฒันบวร สาขาวิชา การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ปการศึกษา 2546

บทคัดยอ

ระบบสนับสนนุการประชมุสําหรับคณะกรรมการพิจารณาจัดสรรทุนอุดหนนุและติดตามประเมนิผลการวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ พัฒนาข้ึนเพื่อสนับสนนุการตัดสินใจของคณะกรรมการพิจารณาจัดสรรทุนอุดหนุนและติดตามประเมินผลการวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ และอํานวยความสะดวกใหกับฝายเลขานุการในการเตรียมการประชุม โดยไดมีการพฒันาฐานขอมลูตาง ๆ ไดแก โครงการวิจัย ผลงานวิจัย บทความวิจัย และผูทรงคุณวฒุ ิ และระบบสนับสนนุการประชุมแบบเผชญิหนา (Face-to-Face Meeting) ซึ่งมีเครื่องมือในการสนับสนุนการประชุม ไดแก การเตรียมระเบียบวาระการประชุม การบันทึกขอมูลและรับรองรายงานการประชุมทัง้กอนและระหวางการประชุม แบบจําลองการจดัสรรงบประมาณของผูขอรับทุน การระดมความคิดเหน็ และการลงคะแนนเสยีง โดยผูใชระบบมี 2 กลุม คือ คณะกรรมการพิจารณาจัดสรรทุนอุดหนนุและติดตามประเมินผลการวิจัยและพฒันา และเจาหนาที่ฝายประสานงานวจิัยและประเมนิผล สถาบนัวจิัยและพัฒนา มหาวทิยาลัยวลัยลักษณ ในการพัฒนาโปรแกรมมีการพัฒนาในรูปแบบเว็บ โดยใชภาษา PHP สถาปตยกรรมเปนแบบไคลเอนต/เซิรฟเวอร (Client/Server) โดยเครื่องเซิรฟเวอรใชระบบปฏิบัติการลินุกซ มีโปรแกรม Apache ทําหนาที่เปนเว็บเซิรฟเวอร (Web Server) และใชระบบจัดการ ฐานขอมูล MySQL คําเฉพาะ: ระบบสนับสนับการประชุม; ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส; ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุม; การจัดสรรทุน; การวิจัยและพัฒนา

ตัวอยางบทคดัยอภาษาไทย

20 จุด, ตัวหนา

หมายเหต ุ กรณีเปนโครงงานใหเปลี่ยนจากคําวา “วิทยานพินธ” เปนคําวา “โครงงาน”

Page 23: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

17

(เวน 1 บรรทัด) Thesis Title Meeting Support System for Walailak Research and Development

Committee Author Nawaphon Kittiphattanabawon Major Program Management of Information Technology Academic Year 2003

Abstract

The purposes of development of Meeting Support System for Walailak Research and Development Committee are to support Research and Development Committee for allocation fund and evaluation research and development research projects, and to facilitate the secretariat to prepare the meeting. This system composes of research projects, research outputs, publications and reviewer database and face-to-face meeting support system which has tools for preparing the agenda, recording the observations before the meeting, recording the considerations and resolutions at the meeting, approving the minutes, constructing the budget models, brainstorming, and voting. The users of the system are Walailak Research and Development Committee and the officer of Research Coordination and Evaluation Department of Research and Development Institute.

The system is web application developed on client/server architecture with Linux and Apache web server, implemented by PHP, and the database management system is MySQL. Keywords: Meeting Support System; Group Decision Support System; Electronics

Meeting System; Fund Allocation; Research and Development.

ตัวอยางบทคดัยอภาษาองักฤษ

20 จุด, ตัวหนา

หมายเหต ุ กรณีเปนโครงงานใหเปลี่ยนจากคําวา “Thesis” เปนคําวา “Project”

Page 24: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

18

กิตติกรรมประกาศ

โครงงานฉบับนี้สําเร็จไดดวยความชวยเหลือและสนับสนุนจากบุคคลหลายฝาย ผูจัดทําโครงงานรูสึกซาบซึ้งเปนอยางยิง่และขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ดวย

คณะกรรมการพิจารณาจัดสรรทุนอุดหนนุและติดตามประเมินผลการวิจัยและพฒันา มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ ทีก่รุณาใหขอมูลดวยการตอบแบบสอบถาม การสัมภาษณ และให คําแนะนําในการพัฒนาระบบ ดร.สลิล บุญพราหมณ อาจารยที่ปรึกษา ทีก่รุณาใหความรู คําปรึกษา ขอเสนอแนะทางวิชาการ และสนับสนนุในดานตาง ๆ พรอมทั้งชวยตรวจทานและแกไขโครงงาน

ผูชวยศาสตราจารย ดร.จิรพล สังขโพธิ ์ และ อาจารยนพปฎล คงสมบัติ คณะกรรมการสอบโครงงาน ที่กรุณาชวยตรวจทานและแกไขโครงงาน คณาจารย ในหลักสูตรวทิยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศทุกทาน ที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาใหสามารถมีความรูในการศกึษาและทําโครงงานได สุดทายนี้ขอขอบคุณเจาหนาที่ฝายประสานงานวิจัยและประเมินผล สถาบนัวิจยัและพัฒนา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ที่กรุณาใหขอมูลประกอบสําหรับทําโครงงาน และรวมทดสอบโครงงาน

นวพร กิตติพัฒนบวร

ตัวอยางกิตตกิรรมประกาศ 20 จุด, ตัวหนา

Page 25: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

19

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ.................................................................................................................... (1) Abstract ................................................................................................................... (2) กิตติกรรมประกาศ....................................................................................................... (3) สารบัญ...............................................................................................................…… (4) สารบัญตาราง............................................................................................................. (5) สารบัญภาพ............................................................................................................... (6) ตัวยอและสัญลักษณ................................................................................................... (7) บทที.่.......................................................................................................................... 1 1. บทนํา .................................................................................................................... 1 1.1 ความสําคัญและที่มาของปญหา ....................................................................... 1 1.2 วัตถุประสงค ................................................................................................... 2 1.3 ขอบเขตของงาน .............................................................................................. 2 1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ............................................................................... 3 1.5 ผลที่จะไดรับเมื่อเสร็จส้ินโครงการ...................................................................... 3 1.6 ข้ันตอนในการดําเนนิงาน ................................................................................. 4 1.6 อุปกรณที่ใชในการพัฒนางาน .......................................................................... 4 2. ทฤษฎีและเทคโนโลยีทีเ่กีย่วของ .............................................................................. 6 2.1 เทคโนโลยีทีน่ํามาใชในการพัฒนาระบบ ............................................................ 6 2.1.1 กระบวนการเลือกเครื่องมือที่ใชในการจัดการฐานขอมูล .......……...…….... 6 2.1.2 กระบวนการเลือกเครื่องมือที่ใชในการพฒันาโปรแกรม .............................. 7 2.2 ทฤษฎทีี่เกี่ยวของ…………………..................................................................... 7 2.2.1 นิยามของ GDSS และ EMS ...............................................................…. 8 2.2.2 ลักษณะของ GDSS ..................................................................………… 8 2.3 งานวิจยัหรือระบบที่ใกลเคียง ............................................................................ 10

ตัวอยางสารบญั

20 จุด, ตัวหนา

Page 26: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

20

สารบัญ (ตอ)

หนา

2.3.1 ระบบการประชุมอิเล็กทรอนกิสของมหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร .................. 14 2.3.2 การวิเคราะหและออกแบบระบบงานการประชุมขององคการสงเคราะห ทหารผานศึก ..........................................................................................

14

3. การวิเคราะหระบบ .................................................................................................. 19 3.1 องคกรที่เกี่ยวของ...................................................................….……............... 19 3.2 เทคนคิการรวบรวมขอมูล ...................................................………................... 22 3.3 กระบวนการทาํงานของระบบปจจุบัน ........................................................….... 27 3.3.1 ข้ันตอนการจัดสรรทุนอุดหนุนการวิจยัของมหาวทิยาลยัวลัยลกัษณ ............ 27 3.3.2 ข้ันตอนการติดตามและประเมินผลโครงการวิจยัที่ไดรับทุนจาก มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ .........................................................................

28

3.4 การวิเคราะหความตองการของผูใช ................................................................... 29 4. การออกแบบระบบ ................................................................................................. 33 4.1 สถาปตยกรรมของระบบ................................................................................... 33 4.2 การออกแบบกระบวนการ ................................................................................ 46 4.3 การออกแบบสวนทีใ่ชในการจัดการขอมูล.......................................................... 46 4.4 การออกแบบอินพุต................ ......................................................................... 46 4.5 การออกแบบเอาทพุต ..................................................................................... 46 5. การพัฒนา การติดตั้งและทดสอบระบบ .....................................…...........…............ 49 5.1 การพฒันาระบบ .................................................................…......................... 50 5.2 การติดตั้งระบบ .........................................................……………......…........... 52 5.3 การทดสอบระบบ ......................................................……………......….......... 55 6. สรุปผลและขอเสนอแนะ .........………………………………..................................... 60 6.1 สรุปผล .........................................................……………………….................. 60 6.2 ปญหาและอุปสรรค ........................................………………............................ 62 6.2 ขอเสนอแนะ ....................................………..................................................... 63

20 จุด, ตัวหนา

Page 27: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

21

สารบัญ (ตอ) หนา บรรณานุกรม ............................................................................................................. 65 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามและขอสรุปขอมูลจากแบบสอบถาม................................. 66 ภาคผนวก ข แบบฟอรมการประเมนิของโครงงานวิจยั.............................….............. 75 ภาคผนวก ค ผลการทดสอบระบบคณะกรรมการพจิารณาจัดสรรทนุอุดหนุนและ

ติดตามประเมนิผลการวิจัยและพัฒนา มหาวทิยาลยัวลยัลักษณจากคณะกรรมการ...........……………………….........................................

110 ภาคผนวก ง คูมือการใชงาน …………………………………………………………… 128 ประวัติผูเขียน ......................................………….………............................................. 136

20 จุด, ตัวหนา

Page 28: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

22

สารบัญตาราง ตารางที ่ หนา 3.1 รอยละขอมูลโครงการวจิัยที่ไดรับทนุจากมหาวิทยาลัยทัง้หมด ต้ังแตมหาวทิยาลัย เร่ิมมีการใหทนุ ที่คณะกรรมการพิจารณาจัดสรรทุนอุดหนนุและติดตามประเมินผล การวิจัยและพัฒนาตองการทราบ เรียงตามลาํดับจากมากไปหานอย .....................

25 3.2 รอยละความสามารถของระบบที่คณะกรรมการพิจารณาจัดสรรทุนอุดหนุนและ ติดตามประเมินผลการวิจัยและพัฒนาตองการจากมากไปหานอย .........................

26

3.3 รอยละการประชุมอ่ืนในมหาวิทยาลยัที่คณะกรรมการพิจารณาจดัสรรทุนอุดหนุน และติดตามประเมินผลการวิจัยและพฒันาเหน็วาสามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศ มาสนับสนุนการประชุมได เรียงตามลาํดับจากมากไปหานอย ...............................

26 3.3 (ตอ) รอยละการประชุมอ่ืนในมหาวิทยาลัยที่คณะกรรมการพิจารณาจัดสรรทุน อุดหนุนและติดตามประเมินผลการวจิัยและพัฒนาเห็นวาสามารถนําเทคโนโลยี สารสนเทศมาสนับสนุนการประชุมได เรียงตามลาํดบัจากมากไปหานอย ...............

27

ตัวอยางสารบญัตาราง 20 จุด, ตัวหนา

Page 29: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

23

สารบัญภาพ ภาพประกอบที ่ หนา 3.1 โครงสรางองคกรของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวทิยาลยัวลยัลกัษณ ................... 20 3.2 ข้ันตอนการจัดสรรทุนอดุหนนุการวิจยัของมหาวทิยาลัยวลัยลักษณ ……………….. 31 3.3 ข้ันตอนการติดตามและประเมินผลโครงการวิจยัที่ไดรับทุนจากมหาวิทยาลัย วลัยลักษณ ........................................................................................................

32

4.1 สถาปตยกรรมของระบบสนับสนนุการประชุมสําหรบัคณะกรรมการพิจารณาจดัสรร ทุนอุดหนนุและติดตามประเมินผลการวิจัยและพฒันา มหาวทิยาลัยวลัยลกัษณ .....

33

4.2 แผนผังบริบทระบบสนบัสนุนการประชมุสําหรับคณะกรรมการพิจารณาจัดสรรทุน อุดหนุนและติดตามประเมินผลการวจิัยและพัฒนา มหาวทิยาลัยวลัยลักษณ ..........

34

4.3 แผนผังกระแสขอมูลระดับที่ 1 (Process 1) ระบบสนับสนนุการประชุมสําหรับ คณะกรรมการพจิารณาจัดสรรทุนอุดหนนุและติดตามประเมนิผลการวิจยัและ พัฒนามหาวทิยาลยัวลยัลักษณ .........................................................................

36 4.4 แผนผังกระแสขอมูลระดับที่ 1 (Process 2) ระบบสนับสนนุการประชุมสําหรับ คณะกรรมการพจิารณาจัดสรรทุนอุดหนนุและติดตามประเมนิผลการวิจยัและ พัฒนามหาวทิยาลยัวลยัลักษณ .........................................................................

37 4.5 แผนผังกระแสขอมูลระดับที่ 1 (Process 3) ระบบสนับสนนุการประชุมสําหรับ คณะกรรมการพจิารณาจัดสรรทุนอุดหนนุและติดตามประเมนิผลการวิจยัและ พัฒนามหาวทิยาลยัวลยัลักษณ .........................................................................

37 4.6 แผนผังกระแสขอมูลระดับที่ 1 (Process 4) ระบบสนับสนนุการประชุมสําหรับ คณะกรรมการพจิารณาจดัสรรทุนอุดหนนุและติดตามประเมนิผลการวิจยัและ พัฒนามหาวทิยาลยัวลยัลักษณ .........................................................................

38 4.7 แผนผังกระแสขอมูลระดับที่ 1 (Process 5) ระบบสนับสนนุการประชุมสําหรับ คณะกรรมการพจิารณาจัดสรรทุนอุดหนนุและติดตามประเมนิผลการวิจยัและ พัฒนามหาวทิยาลยัวลยัลักษณ .........................................................................

38

ตัวอยางสารบญัภาพ 20 จุด, ตัวหนา

Page 30: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

24

ตัวยอและสัญลักษณ

EMS = Electronics Meeting System (ระบบการประชุมอิเลก็ทรอนกิส) GDSS = Group Decision Support System (ระบบสนับสนนุการตัดสินใจแบบกลุม)

ตัวอยางตัวยอและสัญลักษณ 20 จุด, ตัวหนา

Page 31: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

บทที่ 2

รูปแบบและการพิมพวิทยานิพนธ

2.1 กระดาษที่ใชพิมพ ใชกระดาษสีขาว ไมมีลายเสนบรรทัด ขนาดมาตรฐาน A4 หนา 80 แกรม ใชเพยีงหนาเดยีว ทั้งนี้รวมถึงชุดที่เปนสาํเนาดวย

2.2 ตัวพิมพ ตัวอักษรที่ใชพิมพตองเปนสีดํา คมชัด ลักษณะของตัวพิมพ (font) ใหใชตัวพิมพ Cordia New ในการพิมพภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่แทรกในวิทยานิพนธภาษาไทยก็ใหใชตัวพิมพเดียวกันตลอดเลม สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ กําหนดใหใชตัวพิมพ Times New Roman ตลอดทั้งเลม

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ชื่อวิทยานิพนธ/การศึกษาอสิระ/โครงงาน (ปกนอกและปกใน)

20 จุด 14 จุด (ตัวหนา)

บทที่ 20 จุด 14 จุด (ตัวหนา) ชื่อเร่ืองประจําบท 20 จุด 14 จุด (ตัวหนา) หัวขอใหญในบท 18 จุด 14 จุด (ตัวหนา) หัวขอขาง 16 จุด 12 จุด (ตัวหนา) เนื้อหา 16 จุด 12 จุด (ตัวธรรมดา)

2.3 การเวนที่วางขอบกระดาษ ขอบบน 1.5 นิ้ว (หนาทั่ว ๆ ไป)

1.5 นิ้ว (สําหรับสวนที่เปนบทที่ ของการขึ้นบทใหม ใหเวนระยะจากขอบบน ของกระดาษถึงขอความ จํานวน 2 นิ้ว)

ขอบลาง 1 นิ้ว

Page 32: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

26

ขอบซาย 1.5 นิว้ ขอบขวา 1 นิว้ ขอควรระวังในการพิมพ ถาพิมพคําสุดทายไมจบในบรรทัดนั้น ๆ ใหยกคาํนั้นไปพิมพในบรรทัดถัดไป ไมควรตัด

สวนทายของคําไปพิมพในบรรทัดใหม เชน นครศรีธรรมราช ไมใหแยกเปน นคร-ศรีธรรมราช

2.4 การลําดับหนาและการพิมพเลขหนา การพิมพเลขหนาใหพิมพไวที่มุมขวามือของกระดาษ โดยหางจากริมกระดาษสวนบนและขอบขวามือดานละ 1 นิ้ว การลําดับเลขหนาที่เปน สวนนํา วทิยานพินธที่เปนภาษาไทย ใหใชตัวเลขและมีวงเลบ็กํากับ เชน (1) (2) … สําหรบัวิทยานิพนธที่เปนภาษาองักฤษและภาษาตางประเทศใหใชเลขโรมันตัวเล็ก เชน i ii iii … โดยเริ่มนับต้ังแตบทคัดยอเปนหนาแรก และนับทกุ ๆ หนาตอไปจนถึงหนาสุดทายของสวนนํา

หนาที่เปน สวนเนื้อหา ใหลําดับหนาเริ่มโดยใชเลขอารบิกตามลําดับต้ังแตหนาแรกจนจบหนาสุดทาย ยกเวนหนาทีม่ีชื่อบท หนาแรกของบทคดัยอ หนาแรกของบรรณานกุรม หนาแรกของภาคผนวก ไมตองพิมพเลขหนา แตใหนบัรวมจํานวนหนาไปดวย และการพิมพใหพิมพหนาเดยีวเทานั้น

2.5 การเวนระยะระหวางบรรทัด การเวนระยะระหวางหัวขอใหญกับหัวขอเล็ก หรือระหวางหัวขอกับขอความที่ตามมาเวนระยะ 1 บรรทัด

การเวนระยะบรรทัดระหวางดานบนและดานลางของตารางกับเนื้อความวิทยานิพนธ (กรณีตารางหรือภาพอยูในหนาเดียวกับเนื้อความวทิยานพินธ) เวนระยะ 1 บรรทัด

2.6 การยอหนา การยอหนาใหเวนระยะ 5 ถึง 7 ตัวอักษร หรือ 1 tab key จากขอบที่เวนไวแลว ทั้งนี้การยอหนาจะตองใชใหเหมือนกันตลอดทั้งเลม

2.7 การแบงบท หัวขอและการเรียงลําดับ การแบงบทและหัวขอในบท เมื่อเร่ิมบทใหมจะตองขึ้นหนาใหมเสมอ และมีเลขประจําบท ใหพิมพคําวา “บทที่ ” ไวกึ่งกลางตอนบนสุดของหนากระดาษ สวน “ชื่อบท” ใหพิมพไวกึ่งกลาง

Page 33: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

27

หนากระดาษเชนกัน โดยเวนบรรทัดจากคําวาบทที่ 1 บรรทัด หากชื่อบทยาวเกิน 1 บรรทัดใหแบงคําหรือประโยคลงมาบรรทัดถัดไปตามความเหมาะสม โดยพิมพเรียงลงมาเปนลักษณะสามเหลี่ยมหัวกลับ และไมตองขีดเสนใตชื่อบท วิทยานิพนธภาษาไทย เลขประจําบทจะใชเลขไทยหรือเลขอารบิกก็ได วิทยานิพนธภาษาอังกฤษ หรือภาษาตางประเทศใชเลขโรมันใหญ หัวขอเร่ืองในการเขียนวิทยานิพนธ ประกอบดวย หัวขอใหญ หัวขอรอง หัวขอขางและหัวขอยอยใหพิมพตามลําดับ ดังนี้

2.7.1 หัวขอใหญ คือ หัวขอสําคัญในแตละบท ใหพิมพกลางหนากระดาษ ไมขีดเสนใต พิมพดวยตัวอักษรหนา (ขนาด 20 จุด) เชน คํานาํ สารบัญ บทที่ เปนตน

2.7.2 หัวขอรอง ใหพิมพกลางหนากระดาษ พมิพดวยตัวอกัษรหนา (ขนาด 20 จุด) เชน ชื่อบท เปนตน

2.7.3 หัวขอขาง ใหพิมพริมซายมอืสุดของกระดาษ เวนขอบกระดาษไวตามระเบียบใชตัวอักษรหนา (ขนาด 16 จุด)

2.7.4 หัวขอยอย ใหพิมพในระดับยอหนา ใชตัวอักษรแบบตวัพิมพธรรมดา (ขนาด 16 จุด) การพิมพหัวขอยอย อาจใชตัวอักษรกาํกับสลับกับตัวเลข หรือตัวเลขอยางเดียวก็ได

เมื่อมีการใหหวัขอในระดับใด หวัขอระดับนั้นตองมี 2 หัวขอเปนอยางนอยใหเร่ิมจากชื่อบทมากอน เมื่อมีความจําเปนจึงแบงเปนหัวขอยอย ๆ ไปอีกตามลําดบั การขึ้นหวัขอใหม ถามทีี่วางสําหรับพมิพขอความตอไปไดไมเกนิ 2 บรรทัดแลว ใหข้ึนหัวขอใหมในหนาถดัไป

2.8 การพิมพตาราง 2.8.1 ลําดับที่และชื่อตาราง

ก. ลําดับที่หรือเลขหมายประจําตาราง เปนสวนที่แสดงลําดับของตารางใหใส คําวา “ตารางที่” ตามดวยเลขลําดับที่ของตารางไวริมซายมือสุดของกระดาษ โดยใชตัวอักษรหนาและเวนขอบกระดาษไวตามระเบยีบ โดยแยกตามบท ตัวอยางเชน ตารางที่ 2 ในบทที ่3 คือ ตารางที่ 3.2

ข. ชื่อตาราง ใหพิมพตอจากเลขลาํดับที่ของตารางโดยเวน 2 ตัวอักษร กรณีชื่อตารางยาวเกนิกวา 1 บรรทัด ใหพิมพตัวอักษรตัวแรกของบรรทัดที่สองตรงกับตัวแรกของชื่อตาราง หากมีคําอธบิายทีต่องการบงรายละเอยีดใหชดัเจน ใหนาํรายละเอยีดไปใสไวในหมายเหตุทายตาราง

Page 34: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

28

ค. ตารางที่อางอิงจากแหลงอ่ืน ใหถือปฏิบัติตามวิธกีารเขียนสวนเอกสารและการอางอิง

ง. ชื่อตารางใหใชภาษาเดียวกบัภาษาที่ใชเขยีนวทิยานพินธ

2.8.2 ขนาดของตาราง ก. ตารางตองมีเลขลําดับที ่ ชื่อตาราง หวัขอตาราง หมายเหตุและที่มาของตารางโดยปกติใหพมิพอยูในหนาเดียวกนัทัง้หมด และภายในบริเวณขอบกระดาษที่กําหนด

ข. ตารางที่มคีวามยาวจนไมสามารถบรรจุลงในหนากระดาษเดยีวได ใหพมิพสวนที่เหลือในหนาถัดไปโดยพิมพคําวา ตารางที่ (พรอมดวยเลขลําดับที่ของตาราง) แลวตามดวยคาํวา “(ตอ)” หรือ “(Continued)” หรือ “(Cont’d)” เชน ตารางที่ 1 (ตอ) ตารางผนวกที่ 1 (ตอ) Table 1 (Cont’d) เปนตน กรณีที่จะตองพมิพหวัตารางใหมและตองมีขอความในตารางอยางนอย 2 บรรทัด และใหมีทีว่างในตารางหนาเดิม

ค. ตารางทีม่ีความกวางจนไมสามารถบรรจุในหนากระดาษเดียวได ใหพิมพตามขวางของหนากระดาษ โดยหันหัวตารางเขาสันปกหรืออาจยอสวนใหเล็กลงไดตามความจําเปน แตไมควรเล็กเกินกวา 15 ตัวอักษรตอนิ้ว หากไมสามารถทําไดใหแบงตารางออกเปนสวน ๆ

ง. ใหจัดวางตารางตามความเหมาะสมสวยงามของหนากระดาษ กรณีตารางอยูในหนาเดียวกบัเนื้อหาวทิยานิพนธ ใหเวนระยะบรรทัดระหวางดานบนและดานลางของตารางกับเนื้อหาวทิยานพินธ 1 บรรทัด

จ. ตารางในสวนภาคผนวก ใหใชรูปแบบเดียวกับตารางในสวนเนื้อหา แตใหใสลําดับที่แยกตามภาคผนวกยอย เชน

ตารางผนวกที ่ ก1 ก2 … ก10 ในภาคผนวก ก ตารางผนวกที ่ ข1 ข2 … ข10 ในภาคผนวก ข Appendix Table A1 A2 … A10 ใน Appendix A

2.8.3 ขอความ ก. พิมพขอความแยกตามหวัขอตารางใหชดัเจน ใชภาษาเดียวกนักับภาษาที่ใชเขียนวทิยานพินธและที่มาของตาราง

ข. หมายเหตุของตาราง (ถาม)ี ใหอยูกอนทีม่าของตาราง

Page 35: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

29

2.8.4 หนวย การแสดงหนวยในตารางสามารถทาํได 2 กรณี คือ ก. แสดงหนวยไวในวงเล็บและพิมพตอทายหวัขอตาราง

ข. พิมพแยกบรรทัดหัวขอตารางโดยใหอยูในบรรทัดถัดไปและอยูตรงกลางของหัวขอตาราง

2.9 การพิมพภาพประกอบ ภาพประกอบ เชน แผนภูมิ แผนที่ ภาพถาย ภาพวาด เปนตน

2.9.1 ลําดับที่และคําบรรยาย ก. ใหมีเลขลําดับที่ของภาพเรียงตามลําดับ หลังคํา “ภาพที่” (หรือภาพผนวกที่ กรณีจัดพิมพไวในภาคผนวก) โดยใสไวดานลางของภาพ ปรับระยะตามความเหมาะสม โดยแยกตามบท ตัวอยางเชน ภาพที่ 2 ในบทที่ 3 คือ ภาพที่ 3.2

ข. คําบรรยายหรือชื่อภาพ ใหพิมพตอจากลําดับที่ของภาพ โดยเวน 2 ตัวอักษร กรณีคําบรรยายยาวเกินกวา 1 บรรทัด ใหพิมพตัวอักษรตัวแรกของบรรทัดที่สองตรงกับตัวแรกของคําบรรยายบรรทัดแรก

ค. คําบรรยายใหใชภาษาเดียวกับที่ใชเขียนวิทยานิพนธ

2.9.2 ขนาดของภาพ ก. จัดพิมพทั้งตัวภาพและคําบรรยายอยูในหนาเดียวกัน และภายในบริเวณขอบกระดาษที่กําหนด

ข. กรณีตัวภาพมีขนาดใหญเกินกวาที่จะบรรจุภายในกรอบที่กําหนดใหยอสวน ซึ่งอาจทําการยอสวนทั้งตัวภาพและคําบรรยายได แตหากยอสวนแลวคําบรรยายเล็กมากเกินไปใหยอสวนเฉพาะตัวภาพ สวนเลขหมายประจําภาพและคําบรรยายใชขนาดปกติ

ค. กรณีที่ภาพมีหลายสวน และไมสามารถจะแสดงในหนาเดียวกันได อาจทําการแยกสวนไวหนาถัดไปโดยมีลําดับที่ของภาพ และคําวา (ตอ) หรือ (Continued) หรือ (Cont’d) เชน ภาพที่ 1 (ตอ) Figure 1 (Cont’d) เปนตน

ง. ภาพในสวนภาคผนวก ใหใชรูปแบบเดียวกับภาพในสวนเนื้อหาแตใหใสลําดับที่ของภาพแยกตามภาคผนวกยอย เชนเดียวกับกรณีการพิมพตาราง

Page 36: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

30

จ. ภาพที่จะแสดงในแนวขวางของกระดาษ ใหสวนบทของภาพอยูทางดานสันปก และใหพิมพ เลขลําดับที่ และคําบรรยายดานลางของภาพขนานกับขอบกระดาษดานขวามือ

ฉ. กรณีไมอาจใสลําดับและคําบรรยายภาพลงในหนาเดียวกับภาพได ใหใสไวหนาซายมือ กรณีนี้ใหนับหนาดวยและไมใหมีการพิมพในหนาขวามือกอนนั้น

2.10 การพิมพช่ือทางวิทยาศาสตร การพิมพชื่อทางวทิยาศาสตรของสิ่งมีชีวิต ไดแก จุลชพี พืช สัตว ใหใชตามประมวลนามศาสตรสากล (International Code of Nomenclature) คือ ทําใหเดนชัดแตกตางจากตวัอักษรหรือขอความอืน่ ๆ โดย ขีดเสนใต หรือ พิมพดวยตวัเอน ชื่อวิทยาศาสตรเปนไปตามการตั้งชื่อระบบทวนิาม (Binominal Nomenclature) คือ ประกอบดวยคํา 2 คํา คําแรกเปนชื่อ Genus (Generic name) ข้ึนตนดวยอักษรตัวใหญ คําหลงัเปน Specific epithet โดยพมิพเวนวรรคหางจากคําแรกเลก็นอย และขึ้นตนดวยอักษรตัวเล็ก ทั้งนีอ้าจตามดวย Infraspecific epithet หรือชื่อบุคคล ตามความเหมาะสมของแตละสาขาวิชา ตัวอยาง

2.10.1 จุลชีพ เชน Escherichia coli, Bacillus subtills 2.10.2 พืช เชน Oryza sativa L., Zea mays L. 2.10.3 สัตว เชน Crassostrea commercialis Iredal & Routhly

Page 37: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

31

หัวขอใหญกลางหนากระดาษ

ตัวอยาง

เสนกลางหนา

1.5 นิ้ว

1 นิ้ว

1 นิ้ว

1.5 นิ้ว

เลขหนา

1 นิ้ว

1 นิ้ว

ตัวอยางหนาปกติ

Page 38: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

32

บทที่ 3 (เวน 1 ระยะบรรทัด)

การวิเคราะหระบบ

3.1 สถาบันวิจัยและพัฒนา ……...........................................................................................................................

.............................................................................................................................................. …..............................................................................................................................

.............................................................................................................................................. 3.1.1 การจัดองคกร

……................................................................................................................................................................................................................................................

ก. ผูบริหารระดับตน ……....................................................................…….............................

..................................................................................................................... 1) ....................................……………………........................................

1.1) ……………………………………………………………………… 2) ……………………………………………………………………………. ………………………………………………………..….……………………

ข. ผูบริหารระดับกลาง ……....................................................................…….............................

.....................................................................................................................

..................................................................................................................... 3.1.2 กิจกรรมหลกัและกระบวนการทาํงาน

……...............................................................................................................................................................................................................................................

20 จุด, ตัวหนา

16 จุด, ตัวหนา

ตัวอยางการใชหัวขอยอย

เวนจากขอบ 2 นิ้ว

ยอหนา 0.5"

ยอหนา 0.5"

ยอหนา 0.5"

(เวน 2 ระยะบรรทัด)

ตัวอยางการยอหนาและพิมพหวัขอ

18 จุด, ตัวหนา

Page 39: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

33

ตารางที ่3.2 ผลของสูตรอาหารตอการงอกของเมล็ดกลวยไมกะเรกะรอนปากเปดที่เพาะเลีย้งเปน เวลา 3 เดือน

สูตรอาหารที ่1 สูตรอาหารที ่2

การงอกของเมล็ดในแตละระดับคะแนน (รอยละ)

การงอกของเมล็ดในแตละระดับคะแนน (รอยละ)

เดือน

1 2 3 1 2 3 1 2 3

93.63 ± 23.21

88.03 ± 18.03

87.77 ± 14.67

6.37 ± 2.89 9.66 ± 4.66 9.57 ± 3.08

0 2.32 ± 0.19 2.66 ± 0.24

79.13 ± 12.34

78.01 ± 10.98

74.76 ± 9.11

20.87 ± 7.34

16.59 ± 5.56

17.12 ± 3.14

0 5.40 ± 0.21

8.13 ± 0.32

เฉลี่ย 89.81 ± 3.31

8.53 ± 1.87 1.66 ± 0.45 77.30 ± 2.27 18.19 ± 2.33

4.50 ± 0.14

หมายเหต ุ สูตรอาหารที ่1 คือ อาหารแข็งสูตร VW เติมน้ํามะพราว 15 เปอรเซ็นต น้ําตาลทราย 20 กรัมตอลิตร และผงวุน 8 กรัมตอลิตร สูตรอาหารที ่2 คือ อาหารแข็งสูตร VW เติมน้ํามะพราว 15 เปอรเซ็นต รวมดวย กลวยหอมบด 5 เปอรเซ็นต มันฝร่ังบด 5 เปอรเซ็นต ผงถาน 0.2 เปอรเซ็นต น้ําตาลทราย 20 กรัมตอลิตรและผงวุน 8 กรัมตอลิตร คะแนน 1 คือ swollen seed : เมล็ดขยายขนาดจากเดิม 5-10 เทา โดยเอม็บริโอ

เพิ่มขนาด อาจมีหรือไมมีสีเขยีวของคลอโรฟลล และจะดนัเปลือกเมล็ดแตกออก

คะแนน 2 คือ protocorm : เอ็มบริโอเจริญเปนลูกกลม ปลายแหลมมีไรซอยดเกิดขึ้นโดยรอบ

คะแนน 3 คือ seedling with one leaf : ตนกลามีใบยอดเห็นชัดเจน 1 ใบ งอกข้ึนมาทางดานบนของกอนโปรโตคอรม

ตัวอยางตาราง

Page 40: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

34

ภาพที่ 2.6 แสดง Gradient path ของเอธิลีนทีม่ีหลาย ๆ เสนรวมกันเปน Gradient vector field

ตัวอยางภาพประกอบ

Page 41: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

35

ภาคผนวก ก

แบบสอบถามการศึกษาอิสระเรื่อง พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ของครูประถมศึกษา สังกัดสํานักงานประถมศึกษา

อําเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช

20 จุด, ตัวหนา

18 จุด, ตัวหนา

ตัวอยางภาคผนวก

Page 42: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

36

ประวัติผูเขียน ชื่อ ................................................................................. วัน เดือน ปเกิด ................................................................................. สถานทีเ่กิด ................................................................................. วุฒิการศึกษา วุฒิ ชื่อสถาบัน ปที่สาํเรจ็การศกึษา ............................. ........................................................... ........................ ............................. ........................................................... ........................ ............................. ........................................................... ........................ ตําแหนงและสถานทีท่ํางาน

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

................................................................................................................................. ทุนการศึกษา

1. ........................................................................................................................... 2. ........................................................................................................................... 3. ...........................................................................................................................

20 จุด, ตัวหนา

ตัวอยางประวติัผูเขียน

Page 43: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

บทที่ 3

หลักเกณฑการอางอิงในเนื้อหา

การอางอิงเปนการแจงใหทราบเกี่ยวกับแหลงที่มาของขอความ แนวคิด หรือขอมูลเพื่อ

เปนการใหเกียรติแกเจาของขอความ แนวคิดหรือขอมูลนั้น รวมทัง้เปนประโยชนแกผูอานที่ประสงคจะทราบรายละเอียดอื่น ๆ จากแหลงทีม่า การเขียนอางอิงในสวนเนือ้หาของวิทยานิพนธ ผูเขียนตองระบุแหลงที่มาเมื่อมีการอางถงึสารสนเทศจากงานเขียนของผูอ่ืน อาจจะอางถึงโดยการสรุปเนื้อหาหรือแนวความคิด หรืออาจจะคัดลอกขอความจากแหลงมาใชโดยตรง ซึ่งผูเขียนสามารถเลือกใชวิธกีารเขียนอางอิงไดตามความนยิม ไดแก การเขียนอางอิงแบบแทรกในเนื้อหา (In-Text Citation) หรือการเขียนอางอิงแบบเชิงอรรถ (Citation Footnote) สําหรับวิทยานิพนธของมหาวิทยาลยัวลัยลักษณ กําหนดใหใชการอางองิโดยอาศัยหลกัเกณฑของระบบ APA Style เปนการอางอิงแบบแทรกในเนื้อหาแบบนามป และอาจจะใชเชิงอรรถอางอิงในลักษณะเชงิอรรถเสริมความ (Content Note) เพื่ออธบิายความที่ผูเขยีนคิดวานาจะเปนประโยชนแกผูอาน อาจเปนคํานิยาม หรือความหมายของศัพทที่ผูทาํวิจยัประสงคใหผูอานทราบเพิ่มเติม

3.1 การเขยีนอางอิงแบบแทรกในเนื้อหา (In-Text Citation) ใหใชแบบนามป ซึง่เปนการเขียน ระบุถึงแหลงที่มาของขอความไวในวงเล็บแทรกอยูกับ

เนื้อหาในตําแหนงที่มีการอางอิง รูปแบบ การลงรายการตองลงรายการสําคัญ 3 สวน คือ ชื่อ-ชื่อสกุลผูแตง ปที่พิมพ และเลขหนาที่อางภายในเครื่องหมายวงเล็บ ( ) ซึ่งมีรูปแบบดังนี ้

3.1.1 แทรกหลังหรือหนาขอความทีย่กมาอางอิงหรือนาํแนวความคิดมาอางองิ ดังตัวอยาง

ตัวอยาง

… ในขณะที่การใชผลการวจิัยทางสงัคมศาสตรสวนใหญอยูในวงแคบ จาํกัดเฉพาะในกลุมวิชาของตนเทานัน้ (สนั่น รวมรักษ, 2518, 11-13)

Page 44: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

38

3.1.2 การอางอิงที่ตองการอางชื่อผูแตงเอกสารมากกวาเนื้อหา หรือใหความสําคัญแกผูแตงมากกวาเนื้อหา ใหระบุชื่อผูแตงไวนอกวงเลบ็ ตามดวยปที่พิมพค่ันดวยเครื่องหมายจุลภาค (,) ไวในเครื่องหมายวงเล็บตอทายขอความที่ตองการอางอิง ดังตัวอยาง

ตัวอยาง

... เรืองอุไร ศรีนิลทา (2535, 70) ไดกลาวถึงจรรยาบรรณในการวิจยัของนักวิจัยไว ดังนี้...

3.1.3 การคัดลอกขอความจากงานเขียนของผูอ่ืนโดยตรงหรือจากงานเขียนของตนเอง

ที่ไดพิมพเผยแพร ควรเขียนหรือคัดลอกทุกคําและเหมอืนกับหลักฐานที่ปรากฏในเอกสารที่อางอิงทุกประการ (ยกเวนกรณีที่ตองการละขอความบางสวน) ในกรณีที่เปนภาษาตางประเทศใหคัดลอกขอความเปนภาษานัน้ หากขอความที่อางอิงไมเกิน 40 คําหรือประมาณ 3 บรรทัด ใหพิมพตอไปในเนื้อความโดยไมตองขึ้นบรรทัดใหม แตใหใสขอความนัน้ไวในเครื่องหมายอัญประกาศ

หากขอความเกินกวา 40 หรือประมาณ 3 บรรทัด ไมตองใสเครื่องหมายอัญประกาศ

กํากับ ใหข้ึนบรรทัดใหม โดยพิมพยอหนาเขามากโดยเวน 1 tab key ทุกบรรทัด และถามยีอหนาในขอความทีอ่างอิงก็ใหเพิม่ยอหนาเขามาอีก 5 ตัวอักษร จากยอหนาเดิมของขอความที่อางอิงมา

ตัวอยาง

กลาวไดวา จนีเปนชาติชั้นนาํชาตหินึ่งในเรือ่งของอาหาร ดวยเหตุที่มีพ้ืนที่กวางใหญไพศาล มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง กับภูมิปญญาจากผูคนหลายหลายเผาพันธุทําใหจีน ไดชื่อวามวีัฒนธรรมดานอาหารยิ่งใหญเปนที่ยอมรับทั่วโลก กลาวกันวา “อาหารจีนทางภาคใต โดยเฉพาะในแถบมณฑลกวางตุง เปนอาหารที่ดีที่สุดในโลก อาหารของผูคนแถบที่กลาวถึงนี้มีความหลากหลายในดานคุณภาพและคุณสมบัติทางดานโภชนาการโดยกําเนิดตามธรรมชาติที ่มิไดใชกลไกทางวิทยาศาสตรและวิศวกรรมเขาชวยในการผลิต ” (พิชัย วาสนาสง, 2544 : 90)

Page 45: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

39

และหากตองการเวนขอความที่อางอิงมาบางสวน ใหพมิพเครื่องหมายจุดสามครั้ง โดย

พิมพเวนระยะหางกนั 1 ตัวอักษร (...) แตหากวาตองการจะพิมพเตมิขอความของผูเขียนวิทยานิพนธลงไปในขอความที่คัดลอกมาก็ใหใชเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม [ ] กํากับ เพื่อใหแตกตางจากเครื่องหมายวงเล็บ ซึ่งอาจปรากฏในขอความที่อางอิงหรือคัดลอกมาโดยตรงนัน้

ทั้งนี้รายการทีร่ะบุควรเปนรายการเดียวกบัที่ปรากฏในรายการอางองิหรือบรรณานกุรม ของสวนประกอบทายเรื่อง ยกตัวอยางเชน

ตัวอยางรายการอางอิง หรือ บรรณานกุรม สวนประกอบทายเรือ่ง

แสงอรุณ กนกพงศชยั. (2550). วิถีจีน-ไทยในสงัคมสยาม. กรุงเทพฯ: มติชน. สืบแสง พรหมบุญ. (2525). ความสมัพนัธในระบบบรรณาการระหวางจนีกับไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวฒันาพานชิ. Dochartaigh, E. (2002). Internet use for studying. [Online]. Retrieved September

30, 1999, from: http://www.ddd.ac.th

ตัวอยาง

นอกจากนี้ งานเขียนของสืบแสง พรหมบุญ (2525) ยังใหความหมายเพิ่มเติมในเรื่องระบบบรรณาการนี้ ที่ย้ําถึงบทบาทและหนาที่ตามสถานภาพแหงการเปนพี่และนอง

ทุก ๆ คนมีสถานะของตนเองในสังคมและจะตองประพฤติตนเองอยางมีระเบียบแบบแผน ถาทุกคนรูสถานภาพของตนเองและรูหนาที่ของตนเอง ตลอดจนทาํ ในส่ิงที่ถูกตองเสมอ ๆ โลกนี้ก็จะมีความสงบสุขและมีความสามัคคีปรองดองกัน ความประพฤตทิี่มีระเบียบแบบแผนเปนกฎเกณฑที่จําเปนที่จะผูกมัดชีวติของสังคมเขาดวยกันโดยไมจําเปนตองอาศัยสัญญา หรือใชกําลังบังคับ แตอาศยัความรูสึก “ละอาย” และ “อัปยศอดสู” จีนในฐานะเปนศูนยกลางของอารยธรรมโลกจะตองประพฤติตนเปนตัวอยางเพื่อใหชาตอิื่น ๆ ปฏิบัติตามจักรพรรดิจีนซึ่งไดรับ “อาณัติจากสวรรค” ใหลงมาปกครอง จะตองเปนผูมีคุณธรรมและเปนแบบฉบับที่ดีของมวลมนุษย (สืบแสง พรหมบุญ, 2525 : 4)

Page 46: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

40

3.2 การเขียนอางอิงเชิงอรรถ แบบเชิงอรรถเสริมความ (Content Note) จะทําในกรณีที่ผูเขียนตองการอธิบาย

รายละเอียดของคํา ขอความ หรือแนวคิดเพิ่มเติม คําอธิบายที่ปรากฏในเชิงอรรถนี้ผูเขียนไมไดเขียนขึ้นเองแตจะเปนการอางมาจากที่อ่ืน การพิมพมักจะพิมพหนาเดียวกับคําหรือขอความที่ตองการขยายความเพิ่มเติม โดยรายละเอียดที่ปรากฏดานลางของหนากระดาษ มีเสนกั้นระหวางเนื้อหาและเชิงอรรถ การลงรายละเอียดเชิงอรรถใชสัญลักษณใชตัวเลขกํากับ เพื่อเชื่อมโยงเนื้อหาและสวนที่ไดอางอิง หากในหนาหนึ่งมีการเสริมความมากกวา 1 คร้ังใหเขียนหมายเลขเรียงลําดับการอางอิงดวย เชน (1, 2, 3) เพื่อไมใหผูอานเกิดความสับสน เครื่องหมายหรือหมายเลขจะอยูในบรรทัดแรกของรายการเชิงอรรถแตละเชิงอรรถ ขอความในบรรทัดแรกนั้นจะยอหนาหางจากขอบซายของหนากระดาษประมาณ 7 ตัวอักษร สวนบรรทัดตอ ๆ ไปทุกบรรทัดของแตละเชิงอรรถใหเขียนชิดขอบซายสุดของหนากระดาษ

Page 47: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

41

ตัวอยางเชิงอรรถเสริมความ

ครั้นเพลาค่าํก็ใหตกแตงทัพเสร็จสรรพ แลวประมาณเด็กนอนหลับ พระยาเชลียงก็ยกโยธาทหารทั้งชางมาเขาเมืองได สวนหมื่นหนองขวางนั้น เอาพระยาขี่ชางตัวหนึ่งออกมากลางโยธาทหารทั้งหลาย จึงถูกบรรดาโยธาทหารรุมเอาและจับตัวได สวนหมื่นคําคอนทัพ เจาไกรกําแพงไดชางและตัวหมื่นหนองขวางพรอมเครื่องพก1 มากสํารับหนึ่งเอามาใหเจาศรีวภักดี ทานมอบเงินทองแกวแหวนอันเปนเครื่องพกนั้นแกภรรยาหมื่นดาวทองไว ดานหมื่นคําคอนขาว เจาไกรกําแพงไดชางพลายมาใหแกเจาศรีวภักดี สวนพระยาพฤทธิ์รณ2 เจาเมืองเอาดาบโลหขวานแหกออกไปรอดพนภัย

1 เครื่องพกเปนคําโบราณ หมายถึง ส่ิงที่พกพาบรรดาแกวแหวนเงินทองของมีคาที่ประดับหรือพกพาได ความหมายของคํานําหนาดวย “เครื่อง” จะมีลักษณะคลาย ๆ กัน เชน เครื่องแตงคือเครื่องสําหรับแตงตัวทั้งปวง เครื่องหอหมายถึงส่ิงของที่ผัวเมียแรกอยูดวยกันมีไว เชน ที่นอนหมอนมุง เครื่องใชในหอง เปนตน

2 ในตนฉบับเขียนไววา “พฤปรณ” สันนิษฐษนวาคนไทยสมัยตนอยุธยาเอกหลักการเขียนจากภาษาเขมรเมื่อถายทอดภาษาสันสฤตมาใช โดยแปลงตัว “ห” ทายศัพทเปนสระ อะ เชน คฤห เปนคฤะ สวนไทยไดนํามาปรับใชโดยใสตัวสะกดตามสําเนียง และ “พฤทธิ์รณ” ซึ่งเทากับ “พฤปรณ”

Page 48: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

42

สําหรับหลักเกณฑสําคัญของการอางองิในเนื้อหาที่ผูเขียนควรทราบมีรายละเอยีดดังนี ้

3.2.1 การอางถึงเอกสาร 1 เร่ือง โดยมีผูแตงที่เปนบุคคลเพียงคนเดียว ก. กรณีผูแตงชาวไทย ใสเรียงลําดับตามชื่อ-สกุลที่ปรากฏ สวนคํานาํหนาชื่ออ่ืน ๆ ใหตัดออกไมวาจะเปนตําแหนงวิชาการ เชน ศาสตราจารย หรือคําเรียกทางวิชาชีพ เชน นายแพทย ทนัตแพทย เปนตน

(เปลื้อง ณ นคร, 2511, 160) (จรัส เดชกุญชร, 2522, 82-83) (Walker, 2000)

ข. กรณีผูแตงมีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ และสมณศักดิ์ ใหระบุดวย สวนยศใหใสเฉพาะยศสุดทายเทานั้น

(พระธรรมปฎก, 2540, 8) (ม.ล. สุรสวัสด์ิ สุขสวัสด์ิ, 2535, 130) (ม.ร.ว. สุขุมพันธ บริพัตร, 2539, 7) (พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาจุลจักรพงษ, 2540, 500) (พลเอกเปรม ติณสูลานนท, 2539, 10)

ค. กรณีผูแตงชาวไทย แตเขียนเอกสารภาษาตางประเทศก็ใหระบุเปนชื่อ สกุลเชนเดียวกับขอ 1.1 เพราะถือวาเปนแบบสากลที่ยอมรับวาประเทศไทยใชลักษณะเชนนี้ เชน

(Kasem Suwanagul, 1962, 35) (Thanat Khoman, 1976, 16-25)

ง. กรณีผูแตงชาวตางประเทศ ใสเฉพาะนามสกุลเทานั้น (Anderson, 1992, 19) (Fontana, 1985, 91)

จ. กรณีผูแตงใชนามแฝง ใหใสนามแฝงนั้น (ไพลิน รุงรัตน, 2539, 12) (หยก บูรพา, 2520, 47-53)

(Twain, 1962, 15-22)

Page 49: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

43

ฉ. ถาอางเอกสารเรื่องเดียวเขียนโดยผูแตงคนเดียว แตมีหลายเลมจบใหระบุหมายเลขของเลมที่อางถึงดวย เชน

(ปราณี ธรรมรักษ, 2530, เลม 2, 47) (Willmarth, 1980, vol.3)

ช. ในกรณีที่ตองอางผูแตงคนเดียวกัน 2 คร้ังในยอหนาเดียวกัน ในการอางครั้งแรกใหระบุทั้งชื่อผูแตงและปพิมพ สวนการอางครั้งที่สองใหระบุเฉพาะชื่อผูแตงเพียงอยางเดียว ยกเวนการอางครั้งที่สองในยอหนาใหมใหระบุเหมือนกับการอางครั้งแรก เชน

ล. เสถียรสุต (2544, 60) กลาววา จีนเปนชาติที่มีความรักและใชตัวหนังสือมากที่สุด วัฒนธรรมที่เกี่ยวของกับตัวหนังสือของจีนจึงมีมากมายไมวา พูกัน กระดาษ แทนฝนหมึก... มีโรงพิมพหลวงในราชสํานัก (ล. เสถียรสุต) ...

Fisher (1999) administered a questionnaire … Fisher revealed [การอางครั้งที่สองในยอหนาใหม] … The questionnaire administered by Fisher (1999) was used by

3.2.2 การอางถึงเอกสาร 1 เร่ือง แตมีผูแตง 2 คน

ก. ใหระบุชื่อผูแตงทั้งสองคนทุกครั้งที่มีการอาง โดยใชคําวา “และ” สําหรับเอกสารภาษาไทยหรือ “and” หรือ "&" สําหรับเอกสารภาษาอังกฤษ เชื่อมระหวางคนที่ 1 และ 2 เชน

(นพวรรณ จงวัฒนา และ มยุรี นกยูงทอง, 2537, 16) (Anderson & Kennedy, 1998, 18) หรือ ชแลชเชอรและทอมพสัน (Schlacher & Thompson,1974) ศึกษาวิธีวิจัยที่ใชในวิทยานิพนธพบวา…. หรือ …จากการวิเคราะหวิธีวิจัยที่ใชวิทยานิพนธทางบรรณารักษศาสตร พบวา วิธีวิจัยเชิงสํารวจมีผูนิยมใชกันแพรหลายและคงจะเปน วิธีวิจัยที่จะนิยมใชตอไป (Schlacher and Thompson, 1974, 18)

Page 50: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

44

ข. ในกรณีที่อางผูแตง 2 คนที่มีชื่อสกุลเหมือนกัน แตจัดพิมพคนละปกัน ในกรณีนี้ เพื่อปองกันไมใหเกิดความสับสน ใหระบุชื่อตนเขาไปในการอางครัง้นัน้ดวย โดยไมตองกลับ เชน

Baldwin (2001) and M. L. Baldwin (1999) …

3.2.3 การอางถึงเอกสาร 1 เร่ือง แตมีผูแตง 3-5 คน ก. เอกสารที่มีผูแตง 3-5 คน ในการอางครั้งแรกใหระบุทุกคนชื่อผูแตงทุกคนใน

การอางถึง โดยผูแตงคนที่ 1 ถึง 4 ใหค่ันดวยเครื่องหมาย “,” สวนผูแตงคนสุดทาย ค่ันดวยคําวา “และ” สําหรับเอกสารภาษาไทย และคําวา “and” หรือ เครื่องหมาย "&" สําหรับเอกสารภาษาอังกฤษ เชน

(นวลจันทร รัตนากร, ชุติมา สัจจานันท และ มารศรี ศิวรักษ, 2529, 10) (Annderson, Kennedy & Fox, 1997, 20) Sorensen, Compbell and Poss (1975, 8 - 10) stated that…

ข. ถาเปนการอางถึงครั้งถัดไป ใหระบุเฉพาะผูแตงคนแรก ตามดวยคําวา “et al.” หรือ“and others” สําหรับเอกสารภาษาไทยใหใชคําวา “และคณะ” หรือ “และคนอื่น ๆ” แตถาเปนเอกสารภาษาอังกฤษ เชน

อางครั้งแรก Case, Borgman and Meadow (1986, 31) stated … อางครั้งตอมา

Writing is one way of making meaning from experience for ourselves and for other (Case et al., 1986, 31)…

ค. แตหากอางครั้งตอมา เมื่อเขียนยอโดยใช et al. แลวพบวาทําใหมีรายการที่อางปรากฏคลายกัน เชน

อางครั้งแรก (Bradley, Ramires and Soo (1973)… (Bradley, Soo and Brown (1973)….. อางครั้งตอมา (Bradley et al., 1973)

Page 51: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

45

จะเห็นวาเมื่อเขียนยอจะไดรายการอางอิงเหมือนกัน ในกรณีนี้เพื่อปองกันมิใหผูอานสับสนจึงควรระบุชื่อผูแตงในลําดับถัดไปเพื่อใหเกิดความแตกตางของรายการ เชน (Bradley, Ramires et al., 1973) (Bradley, Soo et al., 1973) ในการระบุคําวา “และคณะ” หรือ “และคนอื่น ๆ” หรือ “et al.” หรือ “and others” นั้น ใหเลือกใชอยางใดอยางหนึ่งเปนแบบแผนเดียวกันตลอดทั้งเลม 3.2.4 การอางถึงเอกสาร 1 เร่ือง แตมีผูแตงมากกวา 6 คน

ในการอางทุกครั้งใหระบุเฉพาะชื่อเฉพาะคนแรกเทานั้น ตามดวยขอความ “และคนอ่ืน ๆ ” หรือ “และคณะ” สําหรับเอกสารภาษาไทย และคําวา “et al.” หรือ “and others” สําหรับเอกสารภาษาอังกฤษ เชน

(ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ, 2538, 11) (Kenedy et al., 1996, 12-14)

ขอยกเวน

หากอางแลวพบวาทําใหมีรายการที่อางปรากฏคลายกัน ใหระบุผูแตงคนตอมาเร่ือย ๆ จนถึงผูแตงที่ไมซ้ํากัน เชน

(Takac, Shaefer, Malonet et al., 1982)… (Takac, Shaefer, Bryant et al., 1982)… เพราะถาเขียนยอจะเปน Takac et al. (1982) เหมือนกัน ในกรณีนี้เพื่อปองกันมิ

ใหผูอานสับสนจึงควรเขียนชื่อผูแตงตามลําดับที่ปรากฏ

ในการระบุคําวา “และคณะ” หรือ “และคนอื่น ๆ” หรือ “et al.” หรือ “and others” นั้น ใหเลือกใชอยางใดอยางหนึ่งเปนแบบแผนเดียวกันตลอดทั้งเลมเชนเดียวกัน 3.2.5 การอางถึงเอกสารที่มีผูแตงเปนสถาบัน

การอางถึงเอกสารที่แตงโดยสถาบัน ตองระบุชื่อของสถาบันอยางชัดเจน เพื่อไมใหผูอานสับสนกับสถาบันอื่น ๆ ที่อาจมีชื่อคลาย ๆ กัน โดยมีหลักการดังนี้

ก. ใหระบุชื่อสถาบันตามที่ปรากฏ (ชมรมพัฒนาไมดอกไมประดับ, 2539)

Page 52: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

46

(สมาคมการพิมพไทย, 2538) (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2539) (University of Pittsburgh, 1993)

ข. ถาเปนหนวยงานของรัฐ ใหเร่ิมตนจากหนวยงานใหญไปหนวยงานยอย โดยเริ่มจากระดับกรมกอนเสมอ ยกเวนหนวยงานที่มีผลงานเปนที่รูจักอาจลงจากหนวยงานยอยไดเลย

(มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ, 2542, 1) (กรมศิลปากร, 2539, 10) (กรมการฝกหัดครู กองการเจาหนาที่, 2540, 189)

การอางหนวยงานของรัฐอยางนอยควรอางถึงระดับกรมหรือเทียบเทา โดยเขียนอางระดับสูงลงมากอนทีละลําดับ ทั้งนี้หากจําเปนอาจจะระบุชื่อกระทรวงเพื่อความชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อปองกันการอางซ้ําหรือไมเปนที่รูจักโดยทั่วไป เชน

(กระทรวงมหาดไทย สํานักนโยบายและแผน, 2538, 13) (กระทรวงศึกษาธิการ กรมวิชาการ, 2542, 6)

ยกเวน สถาบันที่มีผลงานมากหรือเปนสถาบันระดับชาติ ใหใสชื่อเฉพาะนั้นได (หอรัษฏากรพิพัฒน, 2528, 254)

ถาเปนหนวยงานของรัฐที่มีชื่อยอ การอางครั้งแรกใหระบุชื่อเต็ม หากมีชื่อยอใหระบุชื่อยอใน [ ] ไวดวย เพื่อนําไปใชในการอางครั้งตอมา ในกรณีที่ไมมีชื่อยอ การอางจะตองระบุชื่อเต็มของสถาบันนั้นทุกครั้ง เชน

อางครั้งแรก (องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ [ร.ส.พ.], 2519, 25) (National Institution of Mental Health [NIMH], 1999) อางครั้งตอมา (ร.ส.พ., 2519, 25) (NIMH, 1999)

ค. ถาเปนหนวยงานอิสระใหระบุชื่อหนวยงานหรือสถาบันนั้นไดเลย เชน (ศาลรัฐธรรมนูญ, 2549, 165) (สํานักงบประมาณ, 2547, 258)

Page 53: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

47

(สํานักงานคณะกรรมการการวิจัยแหงชาติ, 2540, 81-86) หรือ เปนหนวยงานที่เปนที่รูจักกันดีในระดับชาติ หรือเปนชื่อเฉพาะ เชน (การทองเที่ยวแหงประเทศไทย, 2548, 117)

ง. ถาคณะกรรมการที่มีสํานักงานเปนอิสระหรือมีการบริหารงานในลักษณะของนิติบุคคล ใหลงนามคณะกรรมการนั้นไดเลย เชน

(คณะกรรมการ…, 2547, 189) ถาเปนคณะกรรมการที่ไดรับการจัดตั้งโดยสถาบันเพื่อทําหนาที่เฉพาะกิจ ให

ถือเปนสวนหนึ่งของสถาบันนั้น จึงตองลงนามสถาบันกอน แลวจึงจะระบุชื่อคณะกรรมการตามมา เชน

(สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย คณะกรรมการพัฒนามาตรฐานฯ, 2539)

จ. การลงชื่อผูแตงที่เปนสถาบันนั้น ถาชื่อสถาบันนั้นใชอักษรยอของสถาบันที่เปนทางการหรือเปนที่ยอมรับกันแพรหลายใหใชอักษรยอของสถาบันได เพื่อไมใหขอความในวงเล็บยาวเกินไป แตการอางครั้งแรกควรใชชื่อเต็มกอนเสมอ เชน

อางครั้งแรก (การทองเที่ยวแหงประเทศไทย [ททท.], 2536, 70) (สมาคมสงเสริมเทคโนโลยีไทย-ญ่ีปุน [สสท.], 2540, 100) อางครั้งตอมา (ททท., 2536, 73) (สสท., 2540, 126)

3.2.6 การอางถึงเอกสารหลายเรื่องโดยผูแตงคนเดียวกัน ก. ในกรณีทีผูแตงคนเดียวกันเขียนเอกสารหลายเลม แตปพิมพตาง ๆ ถาตองการ

อางใหระบุชื่อผูแตงเพียงครั้ ง เดียว แลวระบุปพิมพตามลําดับ โดยใชเครื่องหมายอัฒภาค ( ; ) ค่ันระหวางปพิมพ โดยไมตองระบุชื่อผูแตงซ้ํา และเรียงลําดับจากนอยไปหามาก เชน

(วิจิตร ศรีสอาน, 2532, 74; 2534, 40-42; 2542, 15) (Rennis, 1961, 238; 1967, 78)

Page 54: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

48

ข. ถาอางเอกสารหลายเรื่อง เขียนโดยผูแตงคนเดียวกัน และปพิมพซ้ํากัน ใหระบุเรียงลําดับที่ของเลมที่อางไวหลังปพิมพดวย โดยใชตัวอักษร a b c d ตามลําดับสําหรับเอกสารภาษาตางประเทศ และ ก ข ค ง ตามลําดับสําหรับเอกสารภาษาไทย เชน

(Read, 1972a, 16-18; 1972b, 45) (แมนมาส ชวลิต, 2539ก, 15-18) (แมนมาส ชวลิต, 2539ข, 5) (อิศรา อมันตกุล, 2539ก, 102) (อิศรา อมันตกุล, 2539ข, 103) (ชุติมา สัจจานันท, 2537ก, 5) (ชุติมา สัจจานันท, 2537ข, 7)

ทั้งนี้ควรใชอยางใดอยางหนึ่งตอเนื่องเหมือนกันตลอดทั้งเลม

ค. ในกรณีผูแตงคนเดียวกัน แตหนังสือมีหลายเลมจบ (หนังสือเร่ืองเดียวแตมีหลายเลมจบ) ถาอางอิงใหระบุเลมที่อางดวย โดยระบุกอนหนาที่อาง เชน

(สงวน อ้ันคง, 2530, เลม 2, 11-40) (Nicklaus, 1998, vol.3, 134)

3.2.7 การอางถึงเอกสารหลายเรื่องโดยผูแตงหลายคน

ในบางครั้งจําเปนที่ตองอางเรื่องที่เขียนโดยผูแตงตาง ๆ กันพรอมกัน เพื่อแสดงแนวคิดและผลการศึกษาที่คลายคลึงกัน ทําได 2 วิธีคือ

ก. ใหเรียงรายการที่อางตามที่ปรากฏในรายการอางอิงทายเลม โดยคั่นเอกสารแตละเรื่องที่อางถึงดวยเครื่องหมายอัฒภาค ( ; ) เชน

(เจือ สตะเวทิน, 2516, 143; ฐะปะนีย นาครทรรพ และ ประภาศรี สีหอําไพ, 2519, 98-100; ทองสุข นาคโรจน, 2519, 83) (Hrook, et al., 1970, 107; Seidenfaden, 1958, 177) Several researchers (Greenberg, Domitrovich, & Bumbarger, 2000; Yawn et al., 2000) …

Page 55: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

49

ข. ใหเรียงตามปพิมพจากนอยไปหามาก โดยใชเครื่องหมายอัฒภาค ( ; ) ค่ันระหวางเอกสารที่อางแตละเรื่อง เพื่อแสดงวิวัฒนาการของเรื่องที่ศึกษา เชน

(Woodward, 1965, 77-78; Fiedler, 1967, 15; Thompson, 1969, 125) The need for more effective prevention of mental illness in

children has been the focus of many reports (e.g. National Institute of Mental Health, 1998; US Public Health Service, 2000; Weist, 2001) …

3.2.8 การอางถึงเอกสารกรณีที่ไมปรากฏนามผูแตง ก. ถามีบรรณาธกิาร หรือผูรวบรวม ใหระบุแทนชื่อผูแตง โดยระบุไวในเครือ่งหมาย

วงเล็บ(......) เสมอ เชน (ชุติมา สัจจานันท (บรรณาธิการ), 2536, 10-12) (ศรีสุภางค พลูทรัพย (ผูรวบรวม), 2539, 376) (Almend and Goleman (Eds.), 1960, 17) (Anderson (Ed.), 1950, 143)

ข. ถาไมมีทั้ งบรรณาธิการ หรือ ผูรวบรวม ใหใสชื่อเ ร่ืองแทน โดยใสไวในเครื่องหมายอัญประกาศ ( "….." ) สําหรับชื่อเร่ืองของบทความ แตถาเปนชื่อเร่ืองของหนังสือหรือเอกสารใด ๆ ใหพิมพเปน ตัวเอน เสมอ เชน

("Mad cow", 2001) (ลิลิตพระลอ, 2500, 15-19) (Marriam-Webster’s Collegiate Dictionary, 1993) (Sleep Medicine, 2001) on free care (“Study Finds,” 1982)

3.2.9 การอางหนังสือแปล ก. ใหลงชื่อเจาของเรื่องเดิมเสมอ โดยลงตามที่ปรากฏในเอกสารที่อาง

(กอรแมน, 2539, 16)

ข. ถาไมปรากฏเจาของเดิม ใหลงชื่อผูแปล โดยระบุวาเปนผูแปลตอทาย (อนัญญา สิทธิอํานวย (ผูแปล), 2542, 19) (Handersons and Parson (Trans.), 1966, 340)

Page 56: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

50

3.2.10 การอางเอกสารที่เปนบทวิจารณ ใหระบุชื่อผูวิจารณไดเลย เชน

(Dokecki, 1972, 18) (วีรพงษ รามางกูร, 2528, 406) (เกศินี หงสนันท, 2517, 379)

3.2.11 การอางถึงเอกสารอันดับรองหรือเอกสารทุติยภูมิ

ถาตองการอางเอกสารที่มีผูกลาวไวแลวในหนังสืออีกเลมหนึง่ การอางเชนนี้ถือวามิไดเปนการอางถงึเอกสารนั้นโดยตรง ใหระบุรายการเอกสารทัง้ 2 รายการ โดยขึ้นตนดวยนามผูแตง ของเอกสารอันดับแรก ตามดวยคําวา อางถึงใน หรือ as cited in แลวระบุนามผูแตงของเอกสารอนัดับรองและปพิมพ โดยใสไวในเครื่องหมายวงเล็บ (.............) สวนการลงรายการอางอิงหรือบรรณาน ุกรมใหลงรายการของผูแตงอันดับรอง

สนิท ต้ังทว ี ไดศึกษา (อางถึงใน กหุลาบ มัลลิกะมาส, 2525) (Seidenberg and McClelland’s study (as cited in Colheart,

Curtis, Atkins, & Haller, 1987)

3.2.12 การอางถึงเอกสารที่เปนสวนหนึ่งของหนังสือรวมบทความ การอางถึงสวนหนึ่งของหนังสือซึ่งเปนสิ่งพิมพรวมบทความ หรือผลงานของ

ผูเขียนหลายคนและมีผูรับผิดชอบในการรวบรวมหรือทําหนาที่เปนบรรณาธิการ ใหระบุเฉพาะนามผูเขียนบทความ ในกรณีที่ไมปรากฏนามผูเขียนบทความ ใหใชวิธีการอางแบบเดียวกับการอางถึงเอกสารที่ไมปรากฏนามผูแตง

(วินิต ชินสวุรรณ, 2549, 3)

3.2.13 การอางถึงเอกสารทั้งเลม เปนการอางถึงทฤษฎี ผลการสํารวจหรือผลการวิจัยในลักษณะที่เปนการสรุป

แนวคิดจากเอกสารทั้งเลม หรือจากเอกสารหลาย ๆ เลม ใหระบุชื่อผูแตงและปพิมพโดยไมตองระบุเลขหนา เชน

(กมล รุงเจริญไพศาล และ สุวรรณ สุวรรณเวโช, 2538) (มณีมัย รัตนมณี และ อนันต เกตุวงศ, 2526; สุทธิลักษณ ธรรมโหร, 2531)

Page 57: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

51

3.2.14 การอางถึงเอกสารพิเศษ การอางเอกสารพิเศษ เชน จดหมาย ตนฉบับตัวเขียน จดหมายเหตุ ปาฐกถา

บรรยาย รายการวิทยุ รายการโทรทัศน สไลด ฟลมสตริป เทป แผนที่ บทภาพยนตร และสื่อไมตีพิมพอ่ืน ๆ ควรจะตองระบุลักษณะพิเศษของวัสดุนั้นดวย เนื่องจากในรายการอางอิงนั้นบางครั้งจะแยกรายการเหลานี้ไวตางหาก การระบุลักษณะพิเศษจะทาํใหทราบวาจะไปดูรายละเอียดในสวนใดของรายการอางอิง และเพื่อใหทราบวาเอกสารที่อางถึงนี้เปนเอกสารพิเศษ และมีลักษณะพิเศษแตกตางจากเอกสารอื่น เชน

จดหมาย (สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ, พระราชหัตถเลขาถึง ม.จ.หญิง พูนพิศมัย ดิศกุล) (Kay, letter to John Benton) (ทวี บุณยเกียรติ, จดหมาย)

ตนฉบับตัวเขียนและจดหมายเหตุ (สมเด็จพระบรมราชปตุลาธบิดี เจาฟามหาวชิรุณหิศ, จดหมายเหตุรายวัน, พิมพเปนบรรณาการ ในงานพระราชทานเพลิงศพ หมอมเจาอุไรวรรณ ทองใหญ ลงวันที่ 7 มิถนุายน 2520) (กรมศิลปากร, 2500 (แผนเสียง) 33 ½ รอบตอนาที สองหนา “บทเหเรือ”) (เอราวัณภาพยนตร, 2500 (ภาพยนตร)16 มม. ขาว-ดํา, เสียง 25 นาที “เชื้อเพลิงใหม”) (F.O.371/1221. General Report on Siam for 1910)

ปาฐกถา บรรยาย (พุทธทาสภิกขุ, บรรยาย) (Maxton, Lecture)

เทป (ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช, เทปตลับ, 2540)

สไลด ฟลมสตริป และภาพยนตร (กรมสงเสริมการเกษตร, สไลด) (คนดีศรีอยุธยา, ภาพยนตร)

Page 58: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

52

รายการวิทยุ-โทรทัศน (มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ, โทรทัศน “เวทีเมืองคอน”) (มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ, บทวิทยุ “การเปดรับนักศึกษาปการศึกษา 2542”)

การอางเอกสารพิเศษเหลานี้ ถาหัวขอใดก็ตามที่มีนามซ้ํากันใหใชอักษร ก ข ค ง หรือ a b c d กํากับไวหลังชื่อเชนกัน (พุทธเลิศหลานภาลัย ก. สมุดไทยดํา อักษรไทย เสนรงค, 42-43) (พุทธเลิศหลานภาลัย ข. สมุดไทยดํา อักษรไทย, 47-48) 3.2.15 การอางถึงการบรรยาย/อภิปราย/สัมภาษณ

ก. ถาตองการอางบทสัมภาษณ การบรรยายทางวิชาการ หรือการอภิปรายทางวิชาการใหใสชื่อผูบรรยาย ผูใหสัมภาษณ โดยระบุใหทราบหลังชื่อวาเปนการบรรยายหรือสัมภาษณ เชน

(อานันท ปนยารชุน, บรรยาย) (พิเชฐ สุนทรพิพิธ อธิบดีกรมวิเทศสหการ, สัมภาษณ)

ข. ถาเปนเอกสารลักษณะพิเศษ ประเภทจดหมาย บันทึก การสนทนา การสัมภาษณ ฯลฯ ใหระบุชื่อผูเขียน พรอมกับวันที่ (ถามี) เชน

(กระมล ทองธรรมชาติ, สัมภาษณ, 5 กันยายน 2529) (คุณหญิงกุลทรัพย เกษแมนกิจ, สัมภาษณ 22 เมษายน 2535) (Penn (Interview), March 7, 1965)

3.2.16 การอางถึงเอกสารอิเล็กทรอนิกส การอางเอกสารอิเล็กทรอนิกส วารสารอิเล็กทรอนิกส ใหอางเหมือนกับเปน

เอกสารทั่วไป โดยระบุชื่อผูแตง ตามดวยปพิมพ และเลขหนา (ถามี) ไวในวงเล็บ ยกเวนในกรณีตาง ๆ ดังนี้

ก. หากตองการอางอิงขอมูลบางสวนในเนื้อเร่ืองจากเอกสารอิเล็กทรอนิกส ใหระบุเลขหนา เลขประจําบท หรือตารางในตําแหนงที่เหมาะสม ทั้งนี้ใหใชคํายอ สําหรับคําวา page หรือ chapter เชน

(Cheek & Buss, 1981, p.332) (Shimamura, 1989, chap.3)

Page 59: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

53

ข. ในกรณีที่เอกสารนั้นไมระบุเลขหนา ใหใชเลขของยอหนาแทน โดยใหใชคํายอวา para. แทนคําวา paragraph หรือใชสัญลักษณ คือ ¶ และตามดวยหมายเลข หรืออาจจะระบุชื่อ section แลวตามดวยหมายเลขยอหนา เชน

As Myers (2000, ¶ 5) (Beautker, 2000, Conclusion section, para.1)

ค. ตองการอางขอมูลจากเว็บไซดทั้งเว็บไซด การอางอิงไมจําเปนตองระบุรายการนี้ไวในรายการอางอิงทายเลม การอางที่อยูของเว็บไซด (URL) แทน เชน

The University of Wisconsin's Writing Center Web Site is excellent sources of information on writing (http://www.wisc.ed/writing)

Page 60: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

บทที่ 4

หลักเกณฑการเขียนรายการอางอิงและบรรณานุกรม

การเรียบเรียงผลงานวิชาการทุกรูปแบบ ไมวาจะเปนรายงานวิชาการ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ หรือเอกสารวิชาการอื่น ๆ จําเปนที่จะตองจัดทํารายชื่อเอกสารหรือส่ิงพิมพที่ใชประกอบการคนควาไวในสวนประกอบทายเรื่อง โดยใชชื่อเรียกวา “รายการอางอิง” หรือ “บรรณานุกรม” ซึ่งมีขอแตกตางในการเลือกใชคําอยูเพยีงเลก็นอย กลาวคือ หากใชคําวารายการอางอิงแลว รายการที่มแีตละรายการน้ันจะตองมกีารอางอิงในเนื้อหาทกุรายการ แตหากใชคําวาบรรณานุกรม รายการที่มนีั้นไมจําเปนตองปรากฏหรือมกีารอางอิงในเนื้อหาเสมอไป บรรณานุกรมอาจเปนการแสดงรายการเอกสารที่ผูเขียนไดรวบรวมและใชอานประกอบเทานั้น การ เขียนรายการอางอิงและบรรณานุกรมมีความสาํคัญเปนอยางยิ่ง เพราะเปนแหลงขอมูลที่ชวยใหผูอานสามารถคนควาและและติดตามใชงานตาง ๆ ที่อางในวิทยานิพนธ ขณะเดียวกนัก็แสดงถึงคุณคาของงานเขยีน และสรางความนาเชือ่ถือในงานเขยีนชิน้นัน้ ๆ มากยิง่ขึ้น ดวยเหตุนีง้านเขียนที่ดีจึงควรมีการอางอิงในเนื้อหาพรอมกับมีรายการอางอิงหรือบรรณานุกรมตรงกันเสมอ เพื่ออํานวยประโยชนแกผูสนใจที่จะติดตามเอกสารและแหลงตาง ๆ และสรางความนาเชื่อถอืใหกับงานเขียนมากยิง่ขึ้น

รายการอางองิและบรรณานุกรม เปนการเขียนที่มหีลักเกณฑเปนมาตรฐานสากลและมีใชดวยกนัหลายระบบ ดังนัน้ เพื่อใหสอดคลองกับการเขียนอางองิในสวนเนื้อหาของวทิยานพินธ จึงไดนําเสนอหลักเกณฑการเขียนรายการอางอิงและบรรณานุกรมที่อิงมาตรฐานของระบบ APA Style ฉบับพมิพคร้ังที่ 5 เฉพาะที่จาํเปนและที่นยิมใชเทานั้น

การเขียนรายการอางอิงและบรรณานุกรมในบทนี้จะกลาวถงึ 1) การเขียนรายการอางอิงสําหรับหนงัสอืทั่วไป 2) การเขียนรายการอางองิหนังสือที่พิมพเนื่องในโอกาสพิเศษ 3) การเขียนรายการอางองิหนงัสือแปล 4) การเขียนรายการอางอิงหนังสือในกรณีตาง ๆ 5) การเขียนรายการอางอิงบทความในหนังสือ 6) การเขียนรายการอางอิงบทความในวารสาร หนังสือพิมพและสารานกุรม 7) การเขียนรายการอางอิงวทิยานพินธ 8) การเขียนรายการอางองิรายงานการประชุม 9) การเขียนรายการอางองิสื่อโสตทัศนและสื่ออิเล็กทรอนิกส 10) การเขียนรายการอางองิเอกสาร

Page 61: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

55

จากอนิเทอรเน็ต 11) การเขียนรายการอางอิงสิง่พิมพประเภทอืน่ ๆ 12) การเรยีงลําดับรายการอางอิง 13) การใชเครื่องหมายวรรคตอนในรายการอางอิง 14) การพมิพเครื่องหมายวรรคตอนสําหรับการอางองิ และ 15) การใชคํายอในการเขียนรายการอางอิง ซึง่มีรายละเอียดดังนี ้

4.1 การเขียนรายการอางอิงสําหรับหนังสือทั่วไป

รูปแบบรายการอางอิงในที่นําเสนอนี้จะใชรูปแบบที่สอดคลองกับมาตรฐานของ APA Style ฉบับพิมพคร้ังที่ 5 ซึ่งเปนวิธีการที่นิยมอยางแพรหลาย โดยเฉพาะนิยมใชกบังานเขยีนทางสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึ่งพิจารณาความทันสมัยของเรื่องที่อางอิงเปนสําคัญ อีกทั้งยังเปนรูปแบบที่สอดคลองกับการอางอิงในเนื้อหาดวย หากรูปแบบการอางอิงสิ่งพิมพประเภทใด ไมไดกลาวถึงในบทนี้ ใหใชรูปแบบรายการอางอิงสําหรับหนังสือทั่วไปเปนแนวทางในการอางอิงไดโดยอนุโลม

รูปแบบ

ตัวอยาง Gibaldi, J. (1988). The MILA handbook for writers of research paper (3rd ed). New York: Modern Language Association of

America. Sodsi Thaithong and Geoffrey, B. (1982). Malaria Parasites. Bangkok:

Chulalongkorn University.

ขอสังเกต บรรทัดที่สองเปนตนไปของรายการรายการอางอิงแตละรายการจะตองยอหนา เขาไป 8 ตัวอักษรเสมอ ดังตวัอยางที่แสดงไวขางตน

ขอมูลของรายการอางอิงมีหลายสวน ไดแก ชื่อผูแตง (Author’s Name) ชื่อเร่ือง (Title of Publication) คร้ังที่พิมพ (Edition) สถานที่พิมพ (Place) สํานักพิมพ (Publisher) และปพิมพ (Date of Publication) ดังนั้น เพื่อใหเกิดความเขาใจในแบบแผนของการเขียนมากขึ้น ผูเขียนจึงควรทําความเขาใจในหลักเกณฑของการเขียนในแตละสวนดังนี้

ชื่อผูแตง./ /(ปที่พิมพ)./ /ชื่อเร่ือง./ /คร้ังที่พมิพ (คร้ังที่ 2 เปนตนไป)./ / / / / / / / / / สถานที่พมิพ:/สํานักพมิพ.

Page 62: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

56

4.1.1 ชื่อผูแตง ก. ผูแตงที่เปนชาวไทย ใหใสชือ่และนามสกุลที่เปนคนไทยโดยไมตองใสคํานาํหนา

ชื่อ ยกเวนราชทนินาม ฐานันดรศักดิ์ ใหนําไปใสทายชือ่ โดยใชเครื่องหมายจุลภาค ( , ) ค่ันระหวางชื่อกับราชทนินาม และฐานนัดรศักดิ์ สวนสมณศักดิ์ใหคงรูปตามเดิม เชน

ปรัชญา เวสารัชช สุขุมพันธ บริพัตร, ม.ร.ว. พระธรรมปฎก

ข. กรณีที่เปนผูแตงชาวตางประเทศ ใหข้ึนตนดวย ชื่อสกุล ตามดวยตัวอกัษรยอของชื่อตน ชื่อกลาง (ถาม)ี ทัง้นีก้ารกลับชื่อสกุลใหใชตามความนยิมของคนในชาตนิั้น โดยการกลับชื่อสกุลนัน้ตองใชเครื่องหมายจุลภาค ( , ) แบงชื่อสกุลและอักษรยอของชื่อตน ชื่อกลาง เชน

Alleyne, R. L. Crane, N. B.

ค. กรณีหนงัสือทีม่ีบรรณาธิการ และตองการอางถึงหนงัสือทั้งเลม ใหเขียนชื่อบรรณาธิการแทนผูแตง และระบุคําวา "บรรณาธิการ" หรือ "Ed." หรือ "Eds." ไวทายชื่อผูแตง โดยใสเครื่องหมายวงเล็บ ( ) เชน

จรัสวัฒน ไตรรัตน. (บรรณาธิการ). Forbes, S. M. (Ed.) Stock, G., & Campbell, J. (Eds.)

ง. กรณีหนงัสือมผูีแตง 2 คนใหใสชื่อทัง้สองคนตามลําดบัที่ปรากฏ โดยเชื่อมดวยคําวา “และ” ระหวางคนที่ 1 และคนที ่2 เชน

โชคชัย วนภู และ กาญจุรีย ไชยเดช

หากเปนภาษาอังกฤษใหเชือ่มดวยคําวา “and” หรือเครื่องหมาย “&” โดย ใชชื่อสกุลมากอนตามดวยชือ่ตนและชื่อกลาง เชน

Stock, G. & Campbell, J. Corey, Michael J. and Abbey, Michael.

Page 63: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

57

จ. กรณีผูแตงมีต้ังแต 3 คนแตไมเกิน 6 คน ใหใสชื่อผูแตงคนแรก ค่ันดวยเครื่องหมายจลุภาค ( , ) แลวจึงใสชื่อคนที่สองไปเรื่อย ๆ จนถึงคนที ่5 แลวจึงเชื่อมดวยคาํวา “และ” กอนใสชื่อผูแตงคนสุดทาย เชน

นวลจนัทร รัตนากร, ชุติมา สัจจานันท และ มารศรี ศิวรักษ. พิภพ ปราบณรงค, เดชา นันทพชิัย, สุธีระ ทองขาว, เจนจิรา แกวรัตน,

ธีระพันธ จฬุากาญจน และ ชัยยะ ฉัตรเวชศิริกุล.

ในกรณีทีเ่ปนผูแตงชาวตางประเทศ ใหใสชื่อผูคนแรก ค่ันดวยเครือ่งหมาย จุลภาค ( , ) เชนกนั จากนัน้ใหระบุชื่อผูแตงคนที่สองไปเรื่อย ๆ จนถึงคนที่ 5 แลวจึงเชื่อมดวยคําวา and หรือ & ตามดวยผูแตงคนทีสุ่ดทาย เชน

Hanson, H., Borlung, N. E., Yawn, R. A., Wollan, P., Anderson, R. G. and Braxton, J. M.

ฉ. กรณีผูแตงมีมากกวา 6 คน ใหระบุตามขอ 1.5 ไปจนถึงที่ 6 จากนั้นใหระบุคําวา "และคณะ" หรือ "และคนอื่น ๆ" หรือ "et al." หรือ "and others" แทนคนที่ 7 เปนตนไป

Yawn, B. P., Algatt-Bergstrom, P. J., Yawn, R. A., Wollan, P., Greco, M., Gleason, M., et al.

ช. กรณีผูแตงใชนามแฝง หากทราบนามจริงใหวงเล็บนามจริงไว แตถาไมทราบใหระบุ (นามแฝง) ตอทาย เชน

ทมยนัตี (วิมล เจยีมเจริญ). กิ่งฉัตร (นามแฝง).

ซ. กรณีผูแตงเปนสถาบนัใหลงชื่อสถาบันนัน้ ๆ ตามที่ปรากฏ โดยไมตองกลับชื่อหนวยงานใด ๆ ทัง้สิ้น และเวนวรรคจากหนวยใหญไปหาหนวยงานยอย เชน

มหาวิทยาลยัมหิดล คณะเภสัชศาสตร ภาควิชาเภสัชวิทยา. ธนาคารแหงประเทศไทย. การทองเทีย่วแหงประเทศไทย.

Page 64: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

58

ฌ. หากไมปรากฏผูแตง ผูรวบรวม หรือบรรณาธิการ ใหใสชื่อเร่ือง/ชื่อหนงัสือแทนรายการผูแตง เชน

ชีวประวัติ พระหลา เขมปตโต.

4.1.2 ปที่พิมพ ก. ใหระบุเฉพาะตัวเลข โดยไมตองระบุคําวา พ.ศ. หรือ ค.ศ. โดยระบุไวใน

เครื่องหมายวงเล็บ ( ) เสมอ เชน Baxter, C. (1997). Race equality in Health care education.

Philadelphia: Balliere Tindall.

ข. หากหนาปกในไมปรากฏปที่พิมพ จาํเปนตองหาปที่พมิพจากสวนอืน่ ๆ แทน เชน คํานาํ หรือดานหลงัปกหลัง ใหระบุไวในเครื่องหมายวงเลบ็เหลีย่ม [ ] แทน เชน [2479].

ค. หากไมปรากฏปที่พมิพใหใส ม.ป.ป. หมายถงึ ไมปรากฏปที่พมิพ หรือ n.d. หมายถงึ no date แทน โดยใสไวในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม [ ] เชน [ม.ป.ป.]. หรือ [n.d.].

ง. หากเปนการอางอิงบทความจากหนงัสือพมิพหรือฐานขอมูล ตองระบวุันและ เดือนของบทความที่สืบคนได รูปแบบของการระบุใหเปนไปตามธรรมเนียมนิยมของภาษานัน้ เชน

ไตรรัตน สุนทรประภัสสร. (2540, 8 พฤศจิกายน). “อนาคตจีน-อเมริกา.” เดลินวิส, 6.

Suthon Sukprisit. (1997, October 25). “Big fun in little China.” Bangkok Post, 1.

จ. งานที่อยูระหวางการจัดพิมพเผยแพร ใหใชคําวา (กําลงัจัดพิมพ) หรือ (in press) แลวแตภาษาของงานนั้น ๆ

ขอสังเกต ใหปดทายสวนสถานทีพ่ิมพดวยเครื่องหมายมหพัภาค ( . ) เสมอ

Page 65: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

59

4.1.3 ชื่อหนงัสือหรือชื่อเร่ือง ก. ชื่อเร่ืองหรือชื่อหนังสือ ใหเขียนตามที่ปรากฏในหนาปกในของหนังสือ โดย

ใหพิมพเปนตัวเอนหรือตัวเขมก็ได แตถาใชรูปแบบใดใหใชแบบนั้นตลอดทั้งเลม เชน

เทียนฉาย กีระนันท. (2542). การวิเคราะหตลาดแรงงาน: แนวคิดเชงิ ทฤษฎี. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวทิยาลยั.

เทียนฉาย กีระนันท. (2542). การวิเคราะหตลาดแรงงาน: แนวคิด เชงิทฤษฎ.ี กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ข. หากมีชื่อเร่ืองรอง (sub-title) ซึ่งมักจะเปนคําอธิบายชื่อเร่ือง ใหใสตามหลังชื่อเร่ือง ค่ันดวยเครื่องหมายทวิภาค ( : ) แตถาเปนภาษาตางประเทศกํากับใหใสเฉพาะชื่อภาษาไทย เชน

ปรีชา จาํปารัตน และ ไพศาล ชัยมงคล. (2520). การบริหารพัสดุ: ทฤษฎีและปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ไทยวฒันาพานชิ. Banta, G. R. (1982). Asian cropping systems research:

Microeconomic evaluation procedures. Ottawa: International Development Research Center.

ค. ชื่อเร่ืองมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษใหใสเฉพาะภาษาไทย เชน หนังสือชื่อ เร่ืองราวตาง ๆ เกี่ยวกับประเทศไทย (Essay on Thailand) ใหระบุดังนี้

เร่ืองราวตาง ๆ เกี่ยวกับประเทศไทย.

ง. สําหรับชื่อหนังสือที่เขียนเปนภาษาไทยแตชื่อเร่ืองเปนภาษาอังกฤษใหถอดคําเปนภาษาไทยกอน แลวจึงใสชื่อภาษาอังกฤษไวในเครื่องหมายวงเล็บ ( ) โดยใชหลักของการทับศัพท เชน โนตบุค (Note Book) เปนตน

ขอสังเกต ชื่อเร่ืองที่เปนภาษาตางประเทศ ใหพิมพอักษรตัวใหญเฉพาะคาํแรกของ ชื่อเร่ือง ชื่อเร่ืองรอง (ถาม ี มักปรากฏอยูหลังเครื่องหมายมหัพภาคคู :) และ ชื่อเฉพาะ และถาภายในชื่อเร่ืองมีคํายอ ใหพิมพตามทีป่รากฏในเอกสาร ตนฉบับ

Page 66: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

60

4.1.4 คร้ังที่พมิพ ใหใสคร้ังที่พิมพต้ังแตคร้ังที่สองเปนตนไปหรือเปนการจัดพิมพใหมที่มีการแกไข

ใหลงขอความกํากับไว โดยใสไวในเครื่องหมายวงเล็บ ( ) ถาเปนภาษาอังกฤษใหระบุลําดับที่ของการนับตัวเลขดวย เชน พิมพคร้ังที่สอง (2nd ed.) ฉบับปรับปรุง (rev.ed.) เชน เร่ืองราวเกี่ยวกับประเทศไทย (พิมพคร้ังที่ 2). Harry Potter (5th ed.).

ขอสังเกต หากใสคร้ังทีพ่ิมพหลงัชื่อเร่ือง จะเวนระยะ 1 ระยะกอนครัง้ทีพ่ิมพ แตจะใสเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) หลังครัง้ทีพ่ิมพเทานัน้

4.1.5 สถานทีพ่ิมพ

ก. ใหระบุชื่อเมืองซึ่งเปนที่ต้ังของสํานักพิมพตามที่ปรากฏในหนาปกใน ถามีหลายเมือง ใหใสเมืองแรกเทานั้น

ข. ในกรณีที่มีชื่อเมืองซ้ํากันหรือเปนเมืองที่ไมเปนที่รูจักมากนักใหระบุอักษรยอชื่อรัฐดวย โดยคั่นดวยเครื่องหมายจุลภาค ( , ) เชน Englewood, NJ

ค. ถาไมปรากฏชื่อเมืองใหใส ม.ป.ท. หมายถึง ไมปรากฏสถานที่พิมพ หรือ n.p. (no place) แทน โดยใสในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม [ ] เชน [ม.ป.ท.] หรือ [n.p.]

ขอสังเกต ใหปดทายสวนสถานทีพ่ิมพดวยเครื่องหมายทวิภาค ( : ) เสมอ

4.1.6 สํานักพิมพหรือผูจัดพิมพ ก. ใหระบุตามที่ปรากฏในหนาปกใน ข. หากมีหลายสํานักพิมพ ใหใสชื่อสํานักพิมพแรกหรือชื่อสํานักพิมพที่พิมพ

ดวยตัวเขมหรือตัวใหญเปนพิเศษ ค. หากไมปรากฏชื่อสํานักพิมพทั้งในหนาปกใน หลังหนาปกใน ใหใสชื่อโรงพิมพ

แทน เชน โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว เปนตน

Page 67: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

61

ง. หากเปนสิ่งพิมพที่ผลิตโดยหนวยงานของรัฐ ใหใสชื่อสถาบันเปนสํานักพิมพได เชน สํานักวิชาสารสนเทศศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ยกเวนในกรณีที่เปนหนวยงานเดียวกันกับที่ปรากฏในชื่อผูแตงใหเขียนดวยคํายอ เชน

กรมการศาสนา. (2542). วัดธรรมกาย. กรุงเทพฯ: กรมฯ.

จ. สวนคําประกอบทั้งหลาย เชน บริษัท, หางหุนสวนจํากัด, Incorporation, Limited, Ltd. ใหตัดออก เชน สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด ใชคําวา ไทยวัฒนาพานิช หรือ Longman Group Ltd. ใชคําวา Longman Group เปนตน

ฉ. ในกรณีที่ไมปรากฏชื่อสํานักพิมพ หรือโรงพิมพ ใหระบุคําวา ม.ป.พ. หรือ n.p. โดยระบุไวในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม เชน [ม.ป.พ.] หรือ [n.p.]

ขอสังเกต ใหปดทายสวนสถานทีพ่ิมพดวยเครื่องหมายมหพัภาค ( . ) เสมอ 4.2 การเขียนรายการอางอิงหนังสือที่พิมพเนื่องในโอกาสพิเศษ หนังสือจัดพิมพเปนที่ระลึกเนื่องในโอกาสพิเศษตาง ๆ เชน หนังสือใชในงานศพ ทอดกฐิน ครบรอบวันสถาปนา การอางอิงสารสนเทศจากหนังสือประเภทนี้ใหอางอิงเหมือนหนังสือทั่วไป แตเพิ่มรายละเอียดของหนังสือไวในวงเล็บตอทายจากปที่พิมพ เปนรายการสุดทาย

รูปแบบ

ตัวอยาง จอย นนัทิวัชรินทร, ม.ล. (2541). จอถึงจอย. กรุงเทพฯ: [ม.ป.พ.].

(พิมพในงานพระราชทานเพลงิศพ ผูชวยศาสตราจารย ดร. ม.ล.จอย นันทิวัชรินทร ธันวาคม 2541)

มหาวิทยาลยัสุโขทัยธรรมาธิราช. (จัดพิมพเนื่องในโอกาสครบรอบ 15 ป สาขาวิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยสโุขทัยธรรมาธิราช)

ชื่อผูแตง./ / (ปพิมพ)./ /ชื่อเร่ือง./ /สถานทีพ่ิมพ:/ สํานักพิมพ. (รายละเอียดเพิ่มเติม / / / / / / / / ของหนังสือ)

Page 68: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

62

4.3 การเขียนรายการอางอิงหนังสือแปล หนงัสือที่แปลจากภาษาตางประเทศเปนภาษาไทย ใหลงรายการเหมือนหนงัสือ แตในรายการผูแตงใหใสชื่อผูเขียนภาษาเดิม และใหใสชื่อผูแปลดานหลังรายการชื่อเร่ืองเดิม ถาไมทราบชื่อเร่ืองเดิมใหใสตอจากชื่อเร่ืองภาษาไทย

รูปแบบ

ตัวอยาง

เบอรเนทท, แฟรนซิล เอช. (2530). ลอรดนอยฟอนเติล้รอย. แปลจาก Little Lord Fountleroy. แปลโดย เนื่องนอย ศรัทธา (บุญเนื่อง บุญยเนตร)

(พิมพคร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ: การพิมพสตรีสาร. สตีเวนสนั, วิลเลี่ยม. (2536). นายอินทรผูปดทองหลังพระ. แปลจาก A Man

Called Intrepid. ทรงแปลโดยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว- ภูมพิลอดลุยเดชฯ. กรุงเทพฯ: อมรินทรพร้ินติ้งแอนดพับลิชชิ่ง.

Grmek, M. D. (1990). History of AIDS: Emerging and origin of a modern pandemic. Translated by Russell C. Maulitz and Jaclyn Duffin. Princeton, NJ: University Press.

ถาไมทราบผูแตงเดิม ชื่อเร่ืองเดิม ใหระบุชื่อผูแปล ตามดวยคําวาผูแปลในเครื่องหมาย วงเล็บ ( ) เชน

ตัวอยาง นิดา (ผูแปล). (2529). คร้ังหนึง่…ยังจาํได. พิมพคร้ังที ่2. กรุงเทพฯ: ธนบรรณ.

4.4 การเขียนรายการอางอิงหนังสือในกรณีตาง ๆ 4.4.1 กรณีหนงัสือทีม่ีผูแตง 1 คน

เปรมปรี ณ สงขลา. (2548). ภัยคุกคามและสูตรผาทางตัน เพื่อชาวสวนยุคโลก ไรพรมแดน. กรุงเทพฯ: บริษัท โบนัส พรีเพรส จาํกดั.

ธรณ ธาํรงนาวาสวัสด์ิ. (2548). ใตทะเลมีความรัก ภาคสาม: หลงัคลื่นอันดามัน. กรุงเทพฯ: บานพระอาทติย.

ชื่อผูแตง./ /(ปพิมพ)./ /ชื่อเร่ือง./ / แปลจาก ชื่อเร่ืองเดิม (ถาม)ี./ / แปลโดย / / / / / / / / ผูแปล.

Page 69: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

63

Herren, R. V. (1994). The science of animal agriculture. Albany, NY: Delmar Publisher.

4.4.2 กรณีหนงัสือทีม่ีผูแตง 2 คน นิพนธ วิสารทานนท และ จกัรพงษ เจมิศิริ. (2541). โรคผลไม. กรุงเทพฯ: สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที ่6. Meigs, W. B. and Meigs, R. F. (1993). Accounting: The basis for business decision (9th ed.). New York: McGraw-Hill.

4.4.3 กรณีหนังสือที่มีผูแตงชาวไทยและชาวตางชาติ Sodsri Thaithong and Geoffrey, B. (1992). Malaria prasites. Bangkok:

Chulalongkorn University.

4.4.4 กรณีหนงัสือทีม่ีผูแตง 3-6 คน หิรัญ หิรัญประดิษฐ, สุขวัฒน จันทรปรณิก และ เสริมสุข สลักเพ็ชร. (2540). เทคโนโลยกีารผลิตทุเรียน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร. Toplis, J., Dulewicz, V. and Fletcher, C. (1991). Psychological testing:

A manager’s guide (2nd ed). London: Institute of Personnel Management.

4.4.5 กรณีหนงัสือทีม่ีผูแตงมากกวา 6 คน พิภพ ปราบณรงค, เดชา นันทพิชัย, สุธีระ ทองขาว, เจนจิรา แกวรัตน, ธีระพันธ

จุฬากาญจน, ชัยยะ ฉัตรเวชศิริกุล, และคนอื่น ๆ. (2546). รายงาน ฉบับสมบูรณโครงการออกแบบและพฒันาระบบฐานขอมูลเพื่อการ

ทองถิ่นและพัฒนา: จังหวัดนครศรีธรรมราช กระบี ่ชุมพรและระนอง. นครศรีธรรมราช: มหาวทิยาลัยวลัยลักษณ รวมกับ สํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศกึษา.

4.4.6 กรณีหนงัสือทีผู่แตงมีฐานันดรศักดิ์/บรรดาศักดิ์ พระธรรมปฏก (ประยุทธ ปยตุโต). (2541). ธรรมะกับการทํางาน (พิมพคร้ังที ่5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพสหธรรมิก.

Page 70: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

64

วิจิตรวาทการ, หลวง. (2541). ทางสูในชวีิต. กรุงเทพฯ: สรางสรรคบุค. อากาศดําเกิง รพีพัฒน, ม.จ. (2541). ละครแหงชีวิต. กรุงเทพฯ: ดอกหญา.

Parrott, Sir Cecil. (1977). The Serpent and the nightingale. London: Faber and Faber.

4.4.7 กรณีหนงัสือทีผู่แตงใชนามแฝง ชมจันทร (นามแฝง). (2541). อรุณในราตรี. กรุงเทพฯ: คมบาง.

4.4.8 กรณีหนงัสือทีม่ีผูแตงเปนบรรณาธิการ พิทยา วองกุล. (บรรณาธิการ). (2541). ไทยยุควัฒนธรรมทาส. กรุงเทพฯ: โครงการวถิทีรรศน. Stock, G. and Campbell, J. (Eds.). (2000). Engineering: the human genome : An exploration of the science and the ethics of altering, the genes we pass to children. New York: Oxford University Press.

4.4.9 กรณีหนงัสือทีผู่แตงเปนนิติบุคคล สํานักงานสถติิแหงชาต.ิ กองคลังขอมูลและสนเทศสถติิ. (2541). สมุดรายงาน สถิติภาคตะวันออก พ.ศ. 2541. กรุงเทพฯ: กอง. Office of the National Culture Commision (ONCC). (1990). Essay on cultural Thailand. Bangkok: ONCC.

4.4.10 กรณีหนงัสือทีไ่มปรากฏผูแตง แผนการศึกษาแหงชาติฉบับที่ 8 พ.ศ.2540-2544. (2542). กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ สํานกันายกรัฐมนตรี.

Merriam-Webster’s collegiate dictionary (10th ed.). (1993). Spring-field, MA: Merriam-Webster.

Page 71: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

65

4.5 การเขียนรายการอางอิงบทความในหนังสือ กรณีที่ตองการอางอิงบางสวนของหนังสือ หรือบทความที่เขียนไวในหนังสือประเภทหนังสือรวมบทความ เอกสารประกอบการสัมมนา หรือหนังสือที่แบงออกเปนบท ๆ โดยที่มีเนื้อหาไมตอเนื่อง สามารถเขียนรายการอางอิงไดตามรูปแบบดังนี้

รูปแบบ

ตัวอยาง

แนงนอย ใจออนนอม. (2539). หนวยที ่8 แนวความคิดเกี่ยวกับระบบสารนิเทศ ทางการบญัชี. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการรายงานทางการเงนิ และระบบสารสนเทศทางการบัญชี. (หนา 343-376). นนทบุรี: สาขาวชิาวิทยาการจัดการ มหาวทิยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิวัฒน สุทธิภาค. (2532). การโทรคมนาคม: มิติใหมสําหรับการพัฒนา ประเทศ. ใน วันสื่อสารแหงชาติ 2532. (หนา 176-188). กรุงเทพฯ:

การสื่อสารแหงประเทศไทย. เสาวณีย จาํเดิมเผด็จศึก. (2534). การรักษาภาวะจับหืดเฉียบพลันในเด็ก. ใน สมศักดิ ์ โลหเลขา, ชลีรัตน ดิเรกวัฒชัย และ มนตรี ตูจินดา

(บรรณาธกิาร), อิมมโูนวทิยาทางคลนีิคและโรคภูมิแพ. (หนา 99-103). กรุงเทพฯ: วทิยาลยักุมารแพทยแหงประเทศไทย และสมาคมกุมารแพทย แหงประเทศไทย.

Baker, F. M. & Light, O. B. (1993). Psychiatric care of ethnic elders. In A. C. Gaw (Ed.), Culture, ethnicity, and mental illness. (pp. 517-552). Washington, DC: American Psychiatric Press.

ชื่อผูเขียนบทความ./ /(ปพิมพ)./ /ชื่อบทความ./ / ใน ชื่อผูแตง (บรรณาธิการ),/ / / / / / / / / ชือ่หนงัสือ./ / (คร้ังที่พมิพ,/ เลขหนาที่ปรากฏบทความจากหนาใด / / / / / / / / ถงึหนาใด)./ / สถานที่พมิพ: สํานักพมิพ.

Page 72: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

66

Roy, A. (1995). Psychiatric emergencies. In H. I. Kaplan and B. J. Stock (Eds.), Comprehensive textbook of psychiatry (6th ed., pp. 739-1749). Baltimore: William & Wilkins.

Sloan, W. (1978). Services. In Myra Nadler (Ed.), How to start an audiovisual collection. (pp.58-66). Metuchen, NJ: Scarecrow Press.

ขอสังเกต การระบุหนาใหระบุคําวา "หนา" หรือ "pp." กอนระบุเลขหนาเสมอ 4.6 การเขียนรายการอางอิงบทความจากวารสาร หนังสือพิมพ และสารานุกรม กรณีบทความปกติในวารสาร ใหลงรายการตามรูปแบบ ดังนี้

รูปแบบ ตัวอยาง

4.6.1 กรณีบทความที่มีผูแตง 1 คน กุลธิดา ทวมสุข. (2538). แหลงสารนิเทศบนอินเทอรเน็ต. มนุษยศาสตรและ

สังคมศาสตร, 13(2), 1-13. วิชาญ เตชิตธรีะ. (2540). เอกภาพกับชีวติ. วารสารวทิยาศาสตรลาดกระบัง,

7(3), 12-15. Jayasankaran, S. (1997). Smoke in your eyes. Review, 14(8), 20-22. Roy, A. (1982). Suicide in chronic schizophrenia. British Journal of Psychiatry, 141, 171-177.

4.6.2 กรณีบทความทีม่ีผูแตง 2 คน

ชื่อผูเขียนบทความ./ /(ปพิมพ)./ / ชื่อบทความ./ / ชื่อวารสาร,/ ปที ่(ฉบับที)่,/ / / / / / / / / เลขหนาที่ปรากฏ.

Page 73: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

67

จักรกฤษณ นรมิตผดุงการ และทว ีสวนมาลี. (2519). ความสามารถในดาน การเงนิของเทศบาล กรณีของเทศบาลนครกรุงเทพ กอนเปลี่ยนแปลง เปนกรุงเทพมหานคร. วารสารพัฒนบริหารศาสตร, 16 (เมษายน

2519), 231-254. Hamed, G. R. and W. Preechatiwong. (2003). Peel strength of uncrosslinked styrenebutadiene rubber adhered to polyester film. The Journal of Adhesion, 79, 327-348.

4.6.3 กรณีบทความทีม่ีผูแตง 3-6 คน รังสี อดุลยานภุาพ, มงคล เตชะกําพุ และ ชัยณรงค โลหชิต. (2541). การ กระตุนรังไขในลูกโคดวยฮอรโมน เอฟ เอส ซ้ําหลายครั้ง. เวชชสารสตัวแพทย, 28, 59-69. Baldwin, C. M., Bevan, C. and Beshalske, A. (2000). At-risk minority

populations in a church-based clinic: Communicating basic needs. Journal of Multicultural Nursing & Health, 6(2), 26-28.

4.6.4 กรณีบทความที่มีผูแตงมากกวา 6 คน Yawn, B. F., Algatt-Bergstrom, P. J., Yawn, R. A., Wollan, P., Greco, M., Gleason, M., et al. (2000). An in-school CD-ROM asthma education program. Journal of School Health, 70, 153-157.

4.6.5 กรณีบทความในวารสารมีเลขหนาตอเนื่องกนัไปจนจบป (volume) เชน วารสารทางดานการแพทย ใหลงรายการเฉพาะปที่ (volume) ไมตองลงรายการเดือนหรือฉบับที่อีก เชน Halpern, S. D., Ubel, P. A. and Caplan, A. L. (2002). Solid-organ transplantation in HIV-infected patients. New England Journal

of Medicine, 347, 284-287.

4.6.6 กรณีบทความที่ตีพิมพในอนิเทอรเน็ต หากบทความนั้นนํามาจากอินเทอรเน็ตใหบอกที่มาดวย เชน

Page 74: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

68

Greenberg, M. T., Domitrovich, C. and Bumbarger, B. (2000). Prevention of mental disorders in school-aged children: Current state of

the field. Prevention and Treatment, 4, Article 1. Retrieved August 24, 2001, from http://journals.apa.org/prevention/pre40001a

4.6.7 กรณีบทความที่สืบคนไดจากฐานขอมูลอิเล็กทรอนกิส Wiest, M. D. (2001). Toward a public mental health promotion and intervention system for youth. Journal of School Health, 71, 101-104. Retrieved August 25, 2001, from ProQuest database

4.6.8 กรณีบทความจากนิตยสารหรือหนังสือพมิพ ไตรรัตน สุนทรประภัสสร. (2540, 8 พฤศจิกายน). อนาคตจีน-อเมริกา. เดลนิิวส, 6. Greenbert, G. (2001, August 13). As good as there really such a thing as brain death. Yorker, 36-41. Suthon Sukprisit. (1997, October 25). Big fun in little China. Bangkok Post, 1.

4.6.9 กรณีบทความจากหนงัสือพมิพที่สืบคนไดจากฐานขอมลู Mad-cow may tighten blood-donor curbs. (2000, August 19). The Gazette, p. A13. Retrieved August 25, 2001. From Lexis-

Nexis database.

4.6.10 กรณีบทความจากสารานกุรม กองแกว วีระประจักษ. (2539). ลายสือไทย. สารานกุรมสุโขทัยศึกษา. 2,

182-183. สัญญชัย สุวงับุตร. (2537). คายกักกันแรงงาน. สารานกุรมประวัติศาสตรสากล.

2, 112-114. Bergmann, P. G. (1993). Relativity. In The new encyclopedia Britanica (vol. 26, 501-508). Chicago: Encyclopedia Britannica.

Page 75: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

69

4.7 การเขียนรายการอางอิงวิทยานิพนธ รูปแบบ ตัวอยาง

4.7.1 กรณีวิทยานพินธทัว่ไป ชอเพ็ญ นวลขาว. (2548). ความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ

กับแบบแผนการผลิตและวัฒนธรรมการบริโภคอาหาร ศึกษากรณี ชมุชนขนาบนาก จงัหวดันครศรีธรรมราช. (วิทยานพินธปริญญา มหาบัณฑติ, มหาวิทยาลัยวลัยลกัษณ).

เกียรติกําจร กศุล. (2543). รูปแบบความสัมพันธโครงสรางเชงิสาเหตขุอง องคประกอบที่มีอิทธิพลตอภาวะความเปนผูนําของคณบดี สถาบนั อุดมศกึษาของรัฐในสังกดัทบวงมหาวทิยาลยั. (วิทยานพินธปริญญา ดุษฎีบัณฑติ, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั).

4.7.2 กรณีบทคัดยอวิทยานิพนธจากหนงัสือประเภทดรรชนีและสาระสังเขป (Dissertation)

Olsen, G. W. (1985). Campus child care within the public supported post-secondary educational institutions in the state of

Wisconsin (dare care) (Doctoral dissertation, University of Wisconsin-Madison, 1985). Dissertation Abstract International, 47/03, 783.

4.7.3 กรณีวิทยานพินธที่สืบคนไดจากอนิเทอรเน็ต Embar-Sedden, A. R. (2000). Perceptions of violence the emergency

department. Dissertation Abstract International, 61 (02), 776A. Retrieved August 23, 2001, from http://wwwlib.umi.com/dissertations/fullcit9963

ชื่อผูเขียนวทิยานพินธ./ /(ปพิมพ)./ / ชื่อวิทยานพินธ./ / (วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต / / / / / / / / หรือวิทยานพินธปริญญาดุษฎีบัณฑิต, ชื่อมหาวิทยาลัย/สถาบันการศึกษา).

Page 76: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

70

4.7.4 กรณีบทคัดยอวิทยานิพนธสืบคนจากฐานขอมูล Embar-Sedden, A. R. (2000). Perceptions of violence the emergency

department. Dissertation Abstract International. [CD-ROM]. 61 (02), 776A. (UMI No. 996364).

4.8 การเขียนรายการอางอิงรายงานการประชุม

รายงานการประชุมทางวิชาการ เปนเอกสารที่รวบรวมผลงานหลาย ๆ เร่ืองจากผูเสนอผลงานหลาย ๆ คนจัดพิมพเปนรูปเลม การประชุมเหลานั้นอาจจัดเปนครั้งคราว หรือจัดเปนประจํา รูปแบบการเขียนรายการอางอิงจะคลายคลึงกับบทความในหนังสือ โดยใหระบุ รายละเอียดเพิ่มเติมดังนี้

- ปพิมพใหระบปุจัดพิมพรายงาน ไมใชปของการประชุม - ชื่อการประชุมใหเขียนเต็ม โดยตัวแรกของคําในชื่อการประชุมใหใชตัวอักษรใหญทั้งหมด ยกเวนคํานําหนานาม คําบุพบท และคําสันธาน ทั้งนี้ใหระบุคร้ังที่ของการประชุมและวันเดือนปที่จัดการประชุมตอจากชื่อประชุมใหชัดเจนดวย

- ในสวนของสํานักพิมพถาไมปรากฏ ใหระบุหนวยงานที่จัดการประชุมคร้ังนั้น พรอมดวยสถานที่จัดประชุม

4.8.1 บทความในรายงานการประชุม/สัมมนา

รูปแบบ

ตัวอยาง

สุชน ต้ังทวีวพิฒันา และ บุญลอม ชีวะอสิระกุล. (2533). การใชเมล็ดทานตะวนั เปนแหลงโปรตีนและพลงังานในอาหารสัตวปก. ใน รายงานการ

ประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร คร้ังที่ 28 (สาขาสัตวศาสตรและประมง) (หนา 47-59). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร.

ชื่อผูเขียนบทความ./ /(ปทีพ่มิพ)./ /ชื่อบทความ./ /ใน ชือ่เอกสาร/ชื่อรายงานการ / / / / / / / / ประชุม/สัมมนา (เลขหนาที่ปรากฏ)./ / สถานที่พิมพ: สํานักพิมพหรือ / / / / / / / / หนวยงานที่รับผิดชอบในการพมิพ.

Page 77: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

71

Muller, A. L., & Ryan, R. M. (2001). The mind's outer eye. In Alaska Symposium on Perspectives. Vol. 43: Perspectives on Perspective (pp. 237-288). Fairbanks: University of Alaska Press.

4.8.2 เอกสารประกอบการประชุม

รูปแบบ

ตัวอยาง

Crespo, C. J. (1998, March). Update on national data on asthma. Paper presented at the meeting of the National Asthma Education and Prevention Program, Leesburg, V.A.

4.8.3 เอกสารทีน่ําเสนอในที่ประชุมและสืบคนไดจากอินเทอรเน็ต (Poster Session) Binh, N. X., McCue, G. and O’Brien, K. (1999, October). English

language and development at Vihn University, Nghe An Province. Poster session presented at the Fourth International Conference on Language and Development, Hanoi, Vietnam. Retrieved August 23, 2001, from http://www.languages.ait.ac.th/hanoi/binh.htm

4.9 การเขียนรายการอางอิงส่ือโสตทัศนและสื่ออิเล็กทรอนิกส ส่ือโสตทัศนและสื่ออิเล็กทรอนิกส ประกอบดวยวัสดุที่ไมตีพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส รวมถึงอุปกรณตาง ๆ ที่มคุีณคาทางการศึกษา ส่ือประเภทนี้ในบางครั้งก็จาํเปนที่จะตองนํามาใช จึงจําเปนตองอางอิงเพื่อประกอบการนําเสนอเนื้อหาดวย

รูปแบบ

ชื่อผูจัดทํา./ / (ปที่ผลิต)./ / ชื่อเร่ือง. / / [ลักษณะของสื่อ]. / / สถานที่ผลิต: / / / / / / / / / หนวยงานที่ผลิต,/ รายละเอียดของวัสดุนัน้ ๆ.

ชื่อผูจัดประชุม/สัมมนา./ /(เดือน ปที่จัดการประชุม)./ /ชื่อรายงาน/เอกสารการประชุม. / / / / / / / / ใน ชื่อการประชมุ. สถานทีพ่ิมพ(ถามี): สํานกัพิมพ (ถามี).

Page 78: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

72

ตัวอยาง 4.9.1 วีดิทัศน สารคดีสองโลก ปลาโลมา. (2542). [วีดิทัศน]. กรุงเทพฯ: มีเดียออฟมีเดีย. 1 มวน. (20 นาท)ี. สํานักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ. (2544). พลังงานนวิเคลียร พลังที่ขับเคลื่อน

เอกภพ. [วีดิทัศน]. กรุงเทพฯ: สํานักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันต.ิ 1 มวน (30 นาท)ี.

อยุธยา : สมเด็จพระนารายณมหาราช. (2540). [วีดิทัศน]. กรุงเทพฯ: ทิชชิ่ง ทอยส. มวน (30 นาท)ี Chason, K. W. and Sallustio, S. (2002). Hospital preparedness for bioterrorism . [videocassette]. Secaucus NJ: Network for Continuing Medical Education.

4.9.2 แผนที ่

รูปแบบ

ตัวอยาง กรมอุทกศาสตร ราชนาวีไทย. (2530). ประเทศไทย: อาวไทย-ฝงตะวันออก: เกาะชางถงึเกาะยอ. [แผนที]่. กรุงเทพฯ: กรมอุทกศาสตร ราชนาว ี

ไทย. 43 x 58 ซม. Africa. (1972). [Map] Chicago: Denoer Geppert. 112 x 148 cm. National Geographic Society (U.S.). (2002). Antarctica, a new age of

exploration. [Map]. Washington, DC: The Society. 2 x 79 cm. and 30 x 68 cm.

ชื่อผูจัดทํา./ / (ปที่ผลิต)./ / ชื่อแผนที.่ / / [แผนที]่. / / มาตราสวน(ถามี). / / / / / / / / สถานที่ผลิต: / หนวยงานที่ผลิต./ / ขนาดของแผนทีก่วาง x ยาว.

Page 79: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

73

4.9.3 ซีดีรอม การทองเทีย่วแหงประเทศไทย. (2544). การทองเทีย่วเชิงนิเวศ. [ซีดีรอม]. กรุงเทพฯ: การทองเทีย่วฯ, 2544. 1 แผน. eGuide Regional online directory. (2545). [CD-ROM]. Bangkok: eGuide

(Thailand). 1 disc. Key Mega ClipArt 15,000. [n.d.]. [CD-ROM]. [n.p.]: Softkey. 1 disc.

4.9.4 แฟมขอมูล Canal System. [Computer File]. Edwardsville, KS: Medissim, 1988.

4.9.5 ไมโครฟลม อยาเปดประตตูอนรับเชื้อเอดส. (2536). [สไลด]. กรุงเทพฯ: โครงการปองกัน

โรคเอดสแหงชาต.ิ Mitchell, D. H. (1974). Mushrooms. [Microform]. Denver: Poisinde, 1974.

4.9.6 สาระสังเขปจากฐานขอมูลซีดีรอม Kantipong P. and Panich V. (1998, May). Hepotic penicilliosisin patients

without skin lesions. Clin Infect Dis. [CD-ROM]. 26, 5. Abstract from: Current Content: Clinical Medicine 1997-98. (ZM239-0035.)

4.10 การเขียนรายการอางอิงเอกสารจากอินเทอรเน็ต

การอางอิงสารสนเทศที่ไดจากอินเทอรเนต็นับวนัจะมมีากขึ้นโดยลําดบั โดยมีเวิรลไวดเว็บเปนแหลงสารสนเทศบนอินเทอรเน็ตที่มีผูใชมากที่สุด ส่ิงสาํคัญของการอางอิงสารสนเทศจาก อินเทอรเน็ตคือ ผูเขียนจะตองชี้ใหผูอานเขาถึงสารสนเทศที่ตนอางใหมากที่สุด โดยอางใหเจาะจงลงไปในตัวเอกสารที่ใชอางอิงมากกวาการอางอิงโฮมเพจที่เขาถงึได ตอจากนัน้จงึจะบอกแหลงหรอืที่อยูของเอกสารนั้น ๆ เอกสารที่มีการอางอิงจากอนิเทอรเน็ตจะใชตามทางของ APA Style ฉบับพิมพคร้ังที ่5 ซึ่งจาํแนกออกเปน 2 กลุม ใน 5 ประเภท ไดแก

Page 80: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

74

4.10.1 กลุมส่ิงพิมพตอเนื่องออนไลน (Online Periodical) ประกอบดวย

ก. บทความจากวารสารฉบับพมิพทีม่ีการเผยแพรบนอินเทอรเน็ตดวย (Internet articles based on a print source)

ข. บทความวารสารที่เผยแพรบนอินเทอรเน็ตเทานั้น ไมมีฉบับพิมพ (Article in an Internet-only journal)

ค. บทความประเภทจดหมายขายทีม่ีการเผยแพรบนอินเทอรเน็ต (Article in an Internet only newsletter)

รูปแบบ

ตัวอยาง Weist, M. D. (2001). Toward a public mental health promotion and

intervention system for youth. Journal of Scientific Health, 71(3), 101-04. Retrieved August 25, 2002, from ProQuest Database.

4.10.2 กลุมเอกสารทีไ่มใชส่ิงพิมพตอเนื่อง (Nonperiodical Document on Internet) ประกอบดวย ก. เอกสารที่ไมปรากฏชื่อผูเขียนและไมปรากฏปพิมพ (Stand-alone

document, no author identified, no date) ข. เอกสาร/สารสนเทศที่ไดจากเว็บไซตของมหาวิทยาลัย (Document available

on university program or department web site)

รูปแบบ

ชื่อผูแตง./ / (ปพิมพ)./ / ชื่อบทความ./ / ชื่อวารสารออนไลน,/ / ปที่,/ เลขหนา. / / / / / / / / สืบคนเมื่อวนั เดอืน,/ ป,/ จากแหลงขอมูล

ชื่อผูแตง./ / (ปพิมพ)./ / ชื่อเอกสารออนไลน./ / สืบคนเมื่อ วนั เดือน,/ ป,/ จาก / / / / / / / /แหลงขอมูล

Page 81: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

75

ตัวอยาง ศรีสมร คงพนัธุ. (2542). สมุนไพรกับอาหารไทย. สืบคนเมื่อ 23 พฤษภาคม,

2542, จาก http://ite.nectec.or.th/%7Eelib

รายละเอียดของหลักเกณฑการอางอิงเอกสารจากอินเทอรเน็ตทั้ง 2 รูปแบบขางตน มีหลักการพืน้ฐานเชนเดียวกับการอางองิของฉบับพมิพแตละประเภท เชน การอางอิงบทความวารสารอิเลก็ทรอนกิสใหอางองิตามแบบของบทความในวารสาร เปนตน เพยีงแตการใหเพิม่เติมขอมูล 2 สวนคือ 1) ขอมูลเกี่ยวกบัประเภทของสารสนเทศบนอินเทอรเน็ต และ 2) ขอมูลเกี่ยวกับแหลงที่อยูของสารสนเทศจากอินเทอรเน็ต ซึ่งหลักเกณฑที่เพิ่มเติมในแตละสวนมีรายละเอียดดังนี ้

ชื่อผูแตง ใหระบุชื่อผูเขียนบทความในกรณีที่เปนกลุมส่ิงพิมพตอเนื่องออนไลน หาก

ไมใชใหระบุ ผูรับผิดชอบหลักหรือบรรณาธิการในการสรางแฟมขอมูล เว็บไซต เวบ็เพจ โดยใชวิธีการเขียนตามหลักเกณฑของการเขียนชื่อผูแตงของหนงัสือ

ชื่อเรื่อง ใหระบุชื่อเร่ืองตามที่ปรากฏ สามารถใชชื่อแฟมขอมูล ชื่อโปรแกรมคอมพิวเตอร

ชื่อเว็บไซตหรือชื่อเว็บเพจกไ็ด โดยระบุในลักษณะเดียวกับชื่อเร่ืองของหนังสือ

ประเภทของเอกสาร ในกรณีที่เปนเอกสารที่มีฉบับพิมพพรอมกับพิมพเผยแพรบนอินเทอรเน็ตดวยให

ระบุคําวา [Electronic version] ในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม [ ] ดวย เพื่อบอกประเภทของเอกสารที่อางอิง ปที่, ฉบับที่

ในกรณีที่เปนสิ่งพิมพตอเนื่องใหระบุปที่ (Volume) เสมอ ถาไมใชใหระบุปพิมพหรือปที่เผยแพรแฟมขอมูล โปรแกรม ชื่อเว็บไซด หรือเว็บเพจ (ถามี)

หนาที่ปรากฏ ในกรณีที่เปนบทความทีม่ีการตีพิมพเปนฉบับพิมพดวย ใหระบุเลขหนา หากเปน

บทความที่เผยแพรเฉพาะอนิเทอรเน็ตเทานั้น ไมจําเปนตองระบุเลขหนาของบทความ

Page 82: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

76

วัน เดือน ปที่เขาถึงขอมลู (Retrieved Date) ใหระบุวัน เดือน ปที่เขาใชขอมูล สําหรับภาษาไทย ใชวัน เดือนตามดวยป

ภาษาอังกฤษใช เดือน วัน ตามดวยป โดยระบุตอจากคําวา Retrieved ในภาษาอังกฤษ ภาษาไทยใหใชคําวา สืบคนเมื่อ

แหลงขอมูลที่เขาถึงได 1) ใหระบุแหลงที่เขาถึงตอทายคําวา จาก สําหรับภาษาไทย หรือ from สําหรับภาษาอังกฤษ 2) แหลงที่เขาถึงไดใหระบุรายละเอียดที่เขาแหลงที่สืบคนไดอยางเจาะจงที่สุด เชน ชื่อฐานขอมูล ถาเปนอินเทอรเน็ตใหระบุวิธีการที่ใชคนหาสารสนเทศได เชน Telnet หรือ FTP หรือ WWW ตามดวยหมายเลข URL ที่เขาถึงได โดยระบุรายละเอียดตั้งแต Site/Path และ File ที่สามารถเขาถึงได

ทั้งนีก้ารพมิพ URL ถาตองแยกบรรทัดใหม ใหข้ึนบรรทดัใหมหลังเครือ่งหมายทับ ( / ) หรือกอนเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) และไมใหมีเครื่องหมายยัติภังค ( – ) สําหรับการพิมพที่ตองแยกรายการ URL 3) ในกรณีที่เอกสารนั้นอยูในเว็บไซตขนาดใหญ เชน เว็บไซตของมหาวิทยาลัย ซึ่งรวมสารสนเทศมากมายของสถาบัน การอางอิงใหระบุชื่อแหลงขอมูลใหญ (URL) โดยมีเครื่องหมาย มหัพภาคคู ( : ) นําหนาเสมอ

จากรูปแบบทั้งสองที่กลาวมานี้ ถาผูเขียนไมประสงคที่จะอางอิงจําแนกลงในแตละประเภทยอยใน 5 ประเภทที่กลาวขางตน ใหอางอิงใน 2 รูปแบบขางตนก็เพียงพอแลว แตหากตองการอางอิงใหจําเพาะเจาะจงมากขึ้น ใหใชรูปแบบเฉพาะสําหรับการอางอิงเอกสารบนอินเทอรเน็ตแตละประเภท ซึ่งมีรายละเอียดของหลักเกณฑดังนี้

4.10.3 การอางอิงสิง่พิมพตอเนื่องออนไลน (Online Periodicals) หมายถงึการอางบทความอเิล็กทรอนิกสที่เผยแพรบนอนิเทอรเน็ต ไดแก บทความ

ในวารสารอิเล็กทรอนิกส บทความอิเล็กทรอนิกสของรายงานการประชุม บทความในจดหมายขาวอเิล็กทรอนกิส ซึ่งสามารถสบืคนไดจากอินเทอรเน็ต การอางอิงสิง่พมิพตอเนือ่งออนไลนม ี3 ประเภทไดแก

ก. การอางบทความวารสารทีพ่มิพเผยแพรบนอินเทอรเน็ต สามารถกระทาํได 2 วิธีดังนี ้

Page 83: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

77

1) ถาบทความนั้นไมมีการปรับปรุงแกไขจากฉบับพิมพ ใหเขียนรายการอางอิงเหมือนกับบทความในวารสาร แตใหระบุคําวา [Electronic version] ตอทายชื่อบทความ

รูปแบบ

ตัวอยาง Braxton, J. M. (Ed.). (1994). Perspectives on research misconduct.

[Special issues, electronic version]. Journal of Higher Education, 65(3), 1-45.

Petrie, C. J. (1996). Agent-based engineering, the web, and intelligence. [Electronic version]. IEEE Expert, 11(6), 24-29. Stone, N. (1990). The globalization of Europe. [Electronic version].

Harvard Business Review, 173(1), 14-33.

2) ถาบทความนั้นมีการปรับปรุงแกไขจากฉบับพิมพใหเขียนรายการอางอิง โดยระบุวัน เดือน ปที่สืบคนขอมูล และชื่อแหลงขอมูล (ที่อยูของเอกสารบนเว็บ หรือ URL)

รูปแบบ

ตัวอยาง Bearden, F. C. (2000). The fee-based advisor/client relationship.

Journal of Financial Service Professional, 54(5), 59-76. Retrieved January 15, 2001, from http://thailis.uni.net.th/abift/detail.nsp

ชื่อผูแตง./ / (ปพิมพ)./ / ชื่อบทความ./ / [Electronic version]./ / ชื่อวารสาร,/ / / / / / / / / ปที่(ฉบับที)่,/ เลขหนา.

ชื่อผูแตง./ / (ปพิมพ)./ / ชื่อบทความ./ / ชื่อวารสาร,/ ปที่ (ฉบับที)่,/ / / / / / / / / เลขหนา./ / สืบคนเมื่อ วนั เดือน,/ ป,/ จากแหลงที่เขาถงึได

Page 84: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

78

Guffrey, M. E. (1997). APA style electronic formats. Business Communication Quarterly, 60(1), 59-76. Retrieved July 29, 2002, from http://www.westwords.com/guffey/apa.html

ข. การอางบทความที่เผยแพรบนอินเทอรเน็ตเทานั้น รูปแบบ

ตัวอยาง Jarvis, D. J. (2002). The process writing method. The Internet TESL

Journal, VIII (7). Retrieved July 30, 2002, from http://iteslj.org/Techniques/Jarvis-Writing.html

ค. การอางบทความประเภทจดหมายขาวที่เผยแพรบนอนิเทอรเน็ต รูปแบบ

ตัวอยาง Venables, D. (2000). How to avoid search engines. Internet Newsletter for Lawyers, (January-February 2000). Retrieved July 30,

2002, from http://www.venables.co.uk/n0001jav.htm#section9

4.10.4 การอางเอกสารที่ไมใชส่ิงพมิพตอเนื่องบนอินเทอรเน็ต ก. การอางเอกสารที่ไมปรากฏชื่อผูเขียนและไมปรากฏปพมิพ รูปแบบ ตัวอยาง ประวัติการเมอืงไทย. [ม.ป.ป.]. สืบคนเมือ่ 1 สิงหาคม 2545, จาก http://www.parliament.go.th/files/library/t-b03.htm

ชื่อผูแตง./ / (ปพิมพ,/ เดือน)./ / ชื่อบทความ./ / ชื่อวารสาร,/ ปที่ (ฉบับที)่./ / / / / / / / / / สืบคนเมื่อ วัน เดอืน,/ ป,/ จากแหลงขอมูล

ชื่อผูแตง./ / (ปพิมพ,/ เดือน)./ / ชื่อบทความ./ / ชื่อวารสาร,/ ปที่ (ฉบับที)่. / / / / / / / / / / / สืบคนเมื่อ วัน เดือน,/ ป,/จากแหลงขอมูล

ชื่อเอกสาร./ /[ม.ป.ป.]./ / สืบคนเมื่อ วัน เดือน ป,/ ชื่อแหลงขอมูล

Page 85: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

79

GVU. 8th www user survey. (n.d.). Retrieved August 8, 2000, from http://www.cc.gatech.edu/gvu/user_surveys/survey-1997-10/

ข. การอางเอกสาร/สารสนเทศที่ไดรับจากเวบ็ไซตมหาวิทยาลัย รูปแบบ

ตัวอยาง

เดชา นันทพชิยั. (2546). การเขียนรายการอางองิและบรรณานุกรม. สืบคนเมื่อ 23 ธันวาคม 2546, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ Website:

http://staffs.wu.ac.th/~ndecha/information skill.htm

4.10.5 การอางเอกสารจากอนิเทอรเน็ตประเภทอื่น ๆ ก. การอางอิงเว็บไซต

หากตองการอางอิงเว็บไซตทั้งเว็บไซต จะไมมีการอางอิงในสวนของรายการอางอิงทายเลม ใหอางอิงเฉพาะในสวนของเนื้อหาเทานั้น

ข. การอางอิงเอกสารที่สําเนาไดจากฐานขอมูล กรณีที่ตองการอางเอกสารที่สําเนาจากฐานขอมูล ใหใชรูปแบบการอางอิง

สําหรับประเภทเอกสารที่สําเนานั้น เชน ถาเปนหนังสือก็ใหอางอิงในรูปแบบของหนังสือ ถาเปนรายงานการประชุมก็ใหอางในรูปแบบของบทความในรายงานการประชุม เปนตน จากนั้นใหเพิ่มขอมูลเกี่ยวกับวัน เดือน ปที่สืบคน และชื่อฐานขอมูลที่สืบคน เชน

รูปแบบ

ชื่อผูแตง./ / (ปพิมพ)./ / ชื่อเอกสาร./ /สืบคนเมื่อ วัน เดอืน,/ ป,/ ชื่อมหาวิทยาลัย / / / / / / / / แหลงขอมูล.

ผูรับผิดชอบหลัก./ /(ปพิมพ)./ /ชื่อเร่ือง./ /สืบคนเมื่อวนั เดือน,/ ป,/ จาก / / / / / / / /ชื่อแหลงขอมูล

Page 86: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

80

ตัวอยาง Meeting Agenda. (1991). Retrieved September 30, 1992, from QUESTEL. Tehrani, N. (1994). Reengineering customer service. Telemarketing Magazine, 13, 295+. Retrieved July 22, 2002, from ABI/Inform

ค. กระดานขาวอเิล็กทรอนกิสและกลุมอภิปราย (Electronic bulletin boards &

discussion group and mailing list) กรณีที่ตองการอางอิงขอความจากไปรษณียอิเล็กทรอนิกส ไมวาจะเปนการ

ติดตอสวนตัว (E-mail) หรือกลุมสมาชิก (discussion groups, mailing lists) ไมตองอางในรายการเอกสารอางอิง แตใหอางอิงในเนื้อหาเทานั้น ตัวอยางเชน

Smith (“personal communication”, January 21, 1999)

4.11 การเขียนรายการอางอิงส่ิงพิมพประเภทอื่น ๆ 4.11.1 จุลสาร เอกสารอัดสําเนา แผนพับ หรือเอกสารไมตีพิมพอ่ืน ๆ

จุลสาร เอกสารอัดสําเนา แผนพับ หรือเอกสารที่ไมไดตีพิมพเผยแพรอ่ืน ๆ ใชแบบแผนเดียวกับหนังสือ แตใหใสประเภทของเอกสารไวในเครื่องหมายวงเล็บเหล่ียม [ ] ไวกอนสถานที่พิมพ

รูปแบบ

ตัวอยาง ธีระ อาชวเมธ.ี (2520). การเปรียบเทียบความเร็วในการเขาใจจํานวน ซึ่งเขียน

เปนตัวเลขอารบิก ตัวเลขไทย และตัวอักษรไทย. [เอกสารอัดสําเนา]. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั.

Farquharson, A. (2002). Navin Rawanchaikul: Visual artist. [Pamphlet]. Thailand: The British Council, 2002.

ชื่อผูแตง./ / (ปที่พิมพ)./ / ชื่อเร่ือง./ / [จุลสาร/เอกสารอัดสําเนา/แผนพับ]. / / / / / / / / สถานที่พิมพ:/ สํานักพิมพ.

Page 87: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

81

4.11.2 เอกสารสิทธิบัตร รูปแบบ

ตัวอยาง สาธิต เกษมสนัต, ม.ล. (2526, 4 กุมภาพนัธ). กรรมวิธใีนการทําออบโซลูต-

อัลกอฮอล. สิทธิบัตรไทย เลขที ่77. Buchanan, R. A. (1979, Jan 23). Extraction of rubber or rubberlike

substances from fibrous plant materials. US. Patent No. 4,136,141.

4.11.3 ส่ิงพิมพที่อยูระหวางการพมิพ (In press) ใชรูปแบบเหมอืนกับบทความในวารสาร แตไมตองระบุปที่ ฉบับทีห่รือเลขหนา

จนกวาบทความจะไดรับการตีพิมพ

ตัวอยาง วีระศักดิ์ ปญญาพรวทิยา. (กําลังพิมพ). ประสิทธิภาพของการสืบพนัธุของ โคนม. เชียงใหมสัตวแพทยสาร. Zuckerman, M. & Kieffer, S. C. (in press). Race differences in face-ism: Does facial prominence imply dominance?. Journal of Personality and Social Psychology.

4.11.4 การอางอิงบุคคลจากการสัมภาษณ รูปแบบ

ตัวอยาง ไทย ทพิยสุวรรณกุล. (2550, 24 พฤษภาคม). อธกิารบดมีหาวทิยาลยัวลัยลักษณ

สัมภาษณ. สุรยุทธ จุลานนท. (2550, 21 มิถุนายน). นายกรัฐมนตรี. สัมภาษณ.

ชื่อผูจดสิทธิบัตร./ / (ปที่จดลิขสิทธิ์, เดือน วัน)./ / ชื่อส่ิงประดิษฐ./ / ประเทศที่ / / / / / / / /จดสิทธิบัตร หมายเลขสิทธิบัตร.

ชื่อผูใหสัมภาษณ./ / (ป,/ วัน เดือนที่สัมภาษณ))./ / ตําแหนง (ถาม)ี./ / สัมภาษณ.

Page 88: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

82

4.11.5 เอกสารอันดับรอง ในกรณีที่ตองการอางเอกสารที่มีผูกลาวไวแลวในหนงัสอือีกเลมหนึ่ง โดยไมได

อานเอกสารตนฉบับเดิม การอางเชนนี้ถอืวามิไดเปนการอางถึงเอกสารนั้นโดยตรง การลงรายการอางอิงหรือบรรณาน ุกรมใหลงรายการของผูแตงอันดับรอง

ตัวอยาง กุหลาบ มัลลิกะมาส. (2525). ความรูทั่วไปทางวรรณคดีไทย. กรุงเทพฯ: วัชรินทรการพิมพ.

Colheart, M., Curtis, B., Atkins, P. & Haller, M. (1993). Models of reading alound: Dual-route and parpallel-distributed- processing approaches. Psychological Review, 100, 589-608.

4.11.6 มาตรฐานผลติภัณฑอุตสาหกรรม รูปแบบ

ตัวอยาง

สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม. (2548). เหล็กแผนรีดเย็นเคลือบ สังกะสีโดยกรรมวิธีจุมรอน แผนมวน แผนตัด และแผนลูกฟกู. มอก. 50-2548.

4.12 การเรียงลําดับรายการอางอิง

หลังจากที่เขียนรายการอางอิงหรือบรรณานุกรมของเอกสารที่นํามาใชอางอิงทั้งหมดแลว แตละรายการที่ปรากฏจะตองเรียงลําดับตามลําดับอักษรตัวแรกของรายการที่ปรากฏ (ก-ฮ, A-Z) ถามีภาษาอังกฤษกับภาษาไทย ใหเรียงแยกกันโดยใหเรียงภาษาไทยมากอนเสมอ การเรียงลําดับของรายการอางอิง ทําได 2 ลักษณะคือ

4.12.1 ถาจํานวนรายการไมมาก ใหเรียงรวมทกุรายการไวดวยกันโดยเรียงตามลําดับอักษรของผูแตง

ชื่อสํานกังานมาตรฐานผลติภัณฑอุตสาหกรรม./ / (ปที่ออกประกาศ)./ / ชื่อมาตรฐาน / / / / / / / / ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม./ / เลขที่ มอก.

Page 89: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

83

4.12.2 ถาจาํนวนรายการมีจาํนวนมาก ควรเรียงรายการแยกตามประเภทของเอกสาร ทั้งนี้ใน แตละประเภทใหเรียงตามลาํดับอักษรของผูแตงดวยเชนกนั ประเภทเอกสารที่แยกไดมีดังนี ้ ก. หนงัสือ ข. บทความในหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ ค. เอกสารอื่น ๆ เชน เอกสารการประชุม สัมมนา จุลสาร เปนตน ง. โสตทัศน จ. สารสนเทศอิเล็กทรอนกิส

หลักการเรียงรายการตามลําดับอักษร การเรียงรายการอางอิงใหเร ียงเอกสารภาษาไทยกอน จากนั ้นจึงเร ียงเอกสารภาษาตางประเทศ โดยเรียงลําดับตามลําดับอักษรตัวแรกที่ปรากฏตามแบบของพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หรือ Dictionary ที่เปนที่ยอมรับกันทั่วไป โดยมีหลักการเรียงดังนี้

1) ใหเรียงทีละตัวอักษรของคํานั้น 2) คํานําหนาชื่อ M’ Mc หรือ Mac ใหเรียงตามรูปที่ปรากฏ โดยไมสนใจเครื่องหมาย ‘ 3) ชื่อสกุลที่มี article หรือ preposition เชน de, la, du, von ฯลฯ ใหเรียงตามกฎของ

ภาษานั้น ถารูวาเปนสวนหนึ่งของชื่อสกุล ใหเรียงลําดับอักษรตามรูปที่ปรากฏ 4) ถาเรียงงานหลายงานที่มีชื่อผูแตงคนแรกเหมือนกัน โดยใชหลักดังนี้

4.1) ใหเรียงรายการที่มีผูแตงคนเดียวมากอนรายการที่มีหลายคน 4.2) ถาผูแตงคนแรกซ้ํากัน ใหเรียงตามชื่อผูแตงคนตอมา 4.3) ถาผูแตงเหมือนกันหมด ใหเรียงลําดับตามอักษรของชื่อเร่ือง 4.4) ถาเปนการอางอิงแบบที่ 2 (ซึ่งมีปพิมพมากอนชื่อเร่ือง) ใหเรียงตามปพิมพตอมา แตถาปพิมพยังซ้ํากันใหเรียงตามลําดับอักษร a b c ที่กํากับปพิมพนั้น

5) ถาชื่อผูแตงเหมือนกัน ใหเรียงตามอักษรของชื่อตนและชื่อกลาง 6) เอกสารผูแตงที่เปนสถาบัน สมาคม หนวยงาน ใหเรียงตามลําดับอักษรตัวแรกของ

ชื่อสถาบันที่สะกดเต็ม โดยเรียงไปทีละลําดับต้ังแตหนวยงานใหญถึงหนวยงานยอย

Page 90: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

84

4.13 การใชเครื่องหมายวรรคตอนในรายการอางอิง 4.13.1 เครื่องหมายมหัพภาค ( . period) ใชในกรณีดังตอไปนี้

ก. เมื่อเขียนยอชื่อแรกหรือชื่อกลางของผูแตงชาวตางประเทศ เชน Kennedy, J. F.

ข. เมื่อใชชื่อยอหรือคํายอ เชน Ed. หรือ Eds. ค. ใชเมื่อจบแตละสวนของรายการอางอิง เชน ผูแตง ชื่อเร่ือง ปพิมพ

4.13.2 เครื่องหมายจลุภาค ( , comma) ใชในกรณีตอไปนี้ ก. ค่ันระหวางชื่อสกุลกับชื่อตน กรณีที่กลับชือ่สกุลของผูแตงชาวตางประเทศ ข. ค่ันระหวางชื่อและบรรดาศักดิ์ กรณีของผูแตงชาวไทย ค. ใชค่ันระหวางชื่อผูแตงคนที ่1 ถึงคนที ่5 (กรณีมีผูแตง 3-6 คน) ง. ใชค่ันระหวางผูแตงและปพมิพ (กรณีการอางอิงระบบนามป)

4.13.3 เครื่องหมายอฒัภาค ( ; semi-colon) ใชเมื่อขอความสวนนั้นไดใชเครื่องหมายจุลภาคไปแลว โดยเฉพาะกรณีอางอิงเรื่องเดียวกันหลาย ๆ คน เชน Several researchers (Greenberg, Domitrovich, & Bumbarger, 2000; Yawn et al., 2000) …

4.13.4 เครื่องหมายมหัพภาคคู ( : colon) ใชเพื่อค่ันระหวางชื่อสถานทีพ่ิมพ (ชือ่เมือง, ชื่อรัฐ) และชื่อสํานักพิมพ

4.14 การพิมพเครื่องหมายวรรคตอนสําหรับการอางอิง สําหรับการพมิพเนื้อหาและการอางองิ จะเริ่มบรรทดัแรกของเอกสารแตละรายการโดยพิมพชิดขอบกระดาษดานซายบรรทัดตอไปใหยอหนา 8 ชวงตัวอักษร เร่ิมพิมพตัวอักษรที่ 9 ถาอางงานเขียนของบุคคลซ้ําขีดเสน 8 ชวงตัวอักษรแทนนามบุคคล และ 4 ชวงตัวอกัษรแทนชื่อหนวยงาน

การเวนระยะการพิมพหลังเครื่องหมายวรรคตอน มีดังนี ้ เครื่องหมาย มหัพภาค [ . period] ใหพมิพ เวนระยะ 2 ชวงตวัอักษร เครื่องหมาย จุลภาค [ , comma] ใหพิมพ เวนระยะ 1 ชวงตัวอกัษร เครื่องหมาย อัฒภาค [ ; semi-colon] ใหพิมพ เวนระยะ 1 ชวงตัวอกัษร เครื่องหมาย มหัพภาคคู [ : colon] ใหพิมพ เวนระยะ 1 ชวงตัวอกัษร เครื่องหมาย นขลิขิต [( ) right parenthesis] ใหพิมพ เวนระยะ 1 ชวงตัวอักษร เครื่องหมาย อัญประกาศ [“ ” quotation marks] ใหพมิพ เวนระยะ 1 ชวงตัวอกัษร

Page 91: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

85

4.15 การใชคํายอในการเขียนรายการอางอิง คํายอที่เปนทีย่อมรับโดยทัว่ไป โดยเฉพาะในการเขียนรายการอางอิงมดัีงตอไปนี้

คําเต็ม คํายอ ความหมาย Compiler Comp. ผูรวบรวม Editor, Editors Ed., Eds. บรรณาธิการ Revised Edition rev. ed. ฉบับปรับปรุง Second Edition 2nd ed. พิมพคร้ังที่สอง Third Edition 3rd ed. พิมพคร้ังที่สาม Translator(s) Trans. ผูแปล No date n.d. ไมปรากฏปทีพ่ิมพ No place n.p. ไมปรากฏสถานทีพ่ิมพหรือสํานักพิมพ Page, Pages p., pp. เลขหนา Number No. ลําดับที ่Volume, Volumes Vol., Vols. ปที ่Part Pt. สวน Supplement Suppl. สวนเพิ่มเติม

Page 92: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

ภาคผนวก ก

คําแนะนําการจัดทําวิทยานิพนธ

Page 93: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

87

คําแนะนําการจัดทําวิทยานิพนธ 1. การนาํสงวิทยานิพนธ

ตองสงตัวเลมวิทยานพินธฉบับสมบูรณ จํานวน 5 เลม เพื่อสงไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของ ดังนี้ 1. ศูนยบรรณสารและสื่อการศึกษา จํานวน 3 เลม 2. หองสมุด MIT (นครศรีฯ) จํานวน 1 เลม 3. อาจารยที่ปรึกษา จํานวน 1 เลม 4. อาจารยที่ปรึกษารวม จาํนวนเพิ่มเติมตามที่ตกลงกบันักศึกษา

และตองแนบ CD-ROM มาพรอมเลมวทิยานพินธฉบับสมบูรณ จาํนวน 5 แผน ซึ่งควรประกอบดวยขอมูลดังตอไปนี ้

- รูปแบบวทิยานพินธฉบับสมบูรณ แฟมขัอมูลขอใหเปน .doc format และ .pdf format โดยขอใหกําหนดชื่อแฟมขอมูล ดังนี ้

สวนหนา (ไดแก หนาปก หนาอนุมัติ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ คํายอ) = front page

บทคัดยอ = abstract บทที ่1 = chapter 1 บทที ่2 = chapter 2 บทที ่3 = chapter 3 บทที ่4 = chapter 4 บทที ่5 = chapter 5 บทที ่6 = chapter 6

บรรณานุกรม = bibliography ภาคผนวก = appendix

ประวัติผูเขียน = cv - คูมือการใชโปรแกรมสําหรบัผูใชหรือ User Guide (.pdf format)

- เอกสารประกอบโปรแกรม หรือ Program document (.pdf format) - วิทยานิพนธหรือโครงงานทีอ่ยูในรูปแบบรายงานที่สมบูรณแลว (.pdf format) - โปรแกรมที่สมบูรณซึ่งเปนสวนที่พฒันาขึ้น (.exe) - กรณีที่เปนโครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศใหแนบ Source code ดวย

ทั้งนี้ใหระบุชื่อวิทยานิพนธ ชือ่-สกุลผูเขียน ชื่อปริญญาและสาขาวชิา ปที่อนมุัติวิทยานิพนธลงบนปกซีดีและบนแผนซีดีรอมดวยเสมอ

Page 94: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

88

ภาคผนวก ข

คําสั่งมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ เรื่อง แตงตั้งคณะทํางาน จัดทําคูมือการเขียนวิทยานิพนธ

Page 95: คู มือการเข ียนว ิทยาน ิพนธmit.wu.ac.th/mit/images/editor/files/Project/20091206_projectHandbook.pdf · คู มือการเข

89