167
บทที4 ผลการวิจัย จากการศึกษาความหลายหลากของไบรโอไฟตในเสนทางศึกษาธรรมชาติซึ่งมี ความสูงจาก ระดับน้ําทะเล 1,300 - 1,820 เมตร บริเวณโรงเรียนการเมืองการทหาร กังหันน้ํา และน้ําตกรมเกลา - ภราดร น้ําตกหมันแดง ลานหินปุม ผาชูธง และลานหินแตก อุทยานแหงชาติภูหินรองกลา จังหวัด พิษณุโลกระหวางเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2555 - กรกฎาคม 2557 พบตัวอยาง 243 ตัวอยาง จัดจําแนกได 82 ชนิด 51 สกุล 35 วงศ แบงเปนลิเวอรเวิรต 29 ชนิด 18 สกุล 12 วงศ และมอสส 53 ชนิด 33 สกุล 23 วงศ (ตาราง 1 และ 2) ในการศึกษาครั้งนี้ไมพบพืชกลุมฮอรนเวิรต ตาราง 1 รายชื่อลิเวอรเวิรต ลําดับ วงศ ชนิด 1 Aneuraceae Aneura Dumort. sp. 2 Aytoniaceae Asterella khasyana (Griff.) Pandéet al. 3 Cephaloziaceae Cephalozia hamatiloba Steph. 4 Fossombroniaceae Fossombronia Raddi 5 Frullaniaceae Frullania Raddi sp.1 6 Frullaniaceae Frullania Raddi sp.2 7 Frullaniaceae Frullania Raddi sp.3 8 Frullaniaceae Frullania Raddi sp.4 9 Frullaniaceae Frullania Raddi sp.5 10 Geocalycaceae Heteroscyphus coalitus (Hook.) Schiffn. 11 Geocalycaceae Heteroscyphus Schiffn. sp.2 12 Geocalycaceae Heteroscyphus Schiffn. sp.3 13 Jungermanniaceae Jungermannia L. 14 Lejeuneaceae Acrolejeunea fertilis (Reinw. et al.) Schiffn. 15 Lejeuneaceae Acrolejeunea (Spruce) Schiffn. sp.1

บทที่ 4 ผลการวิจัยrdi/files/res_che2553/... · 2018. 6. 6. · 22 บทที่ 4 ผลการวิจัย . จากการศึกษาความหลายหลากของไบรโอไฟต

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • 22

    บทที่ 4

    ผลการวิจัย

    จากการศึกษาความหลายหลากของไบรโอไฟตในเสนทางศึกษาธรรมชาติซ่ึงมี ความสูงจาก

    ระดับน้ําทะเล 1,300 - 1,820 เมตร บริเวณโรงเรียนการเมืองการทหาร กังหันน้ํา และน้ําตกรมเกลา -

    ภราดร น้ําตกหมันแดง ลานหินปุม ผาชูธง และลานหินแตก อุทยานแหงชาติภูหินรองกลา จังหวัด

    พิษณุโลกระหวางเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2555 - กรกฎาคม 2557 พบตัวอยาง 243 ตัวอยาง จัดจําแนกได

    82 ชนิด 51 สกุล 35 วงศ แบงเปนลิเวอรเวิรต 29 ชนิด 18 สกุล 12 วงศ และมอสส 53 ชนิด 33

    สกุล 23 วงศ (ตาราง 1 และ 2) ในการศึกษาครั้งนี้ไมพบพืชกลุมฮอรนเวิรต

    ตาราง 1 รายชื่อลิเวอรเวิรต

    ลําดับ วงศ ชนิด

    1 Aneuraceae Aneura Dumort. sp.

    2 Aytoniaceae Asterella khasyana (Griff.) Pandéet al.

    3 Cephaloziaceae Cephalozia hamatiloba Steph.

    4 Fossombroniaceae Fossombronia Raddi

    5 Frullaniaceae Frullania Raddi sp.1

    6 Frullaniaceae Frullania Raddi sp.2

    7 Frullaniaceae Frullania Raddi sp.3

    8 Frullaniaceae Frullania Raddi sp.4

    9 Frullaniaceae Frullania Raddi sp.5

    10 Geocalycaceae Heteroscyphus coalitus (Hook.) Schiffn.

    11 Geocalycaceae Heteroscyphus Schiffn. sp.2

    12 Geocalycaceae Heteroscyphus Schiffn. sp.3

    13 Jungermanniaceae Jungermannia L.

    14 Lejeuneaceae Acrolejeunea fertilis (Reinw. et al.) Schiffn.

    15 Lejeuneaceae Acrolejeunea (Spruce) Schiffn. sp.1

  • 23

    ลําดับ วงศ ชนิด

    16 Lejeuneaceae Cheilolejeunea intertexta (Lindenb.) Steph.

    17 Lejeuneaceae Cheilolejeunea (Spruce) Schiffn. sp.1

    18 Lejeuneaceae Coloiejeunea (Spruce) Schiffn.

    19 Lejeuneaceae Lopholejeunea (Spruce) Schiffn.

    20 Lejeuneaceae Mastigolejeunea (Spruce) Schiffn.

    21 Lejeuneaceae Ptychanthus striatus (Lehm. & Lindenb.) Nees

    22 Lejeuneaceae Spruceanthus Verd.

    23 Lepidoziaceae Bazzania appendiculata (Mitt.) S. Hatt.

    24 Lepidoziaceae Bazzania Gray. sp.1

    25 Lepidoziaceae Bazzania Gray. sp.2

    26 Machantiaceae Dumortiera hirsute (Sw.) Nees.

    27 Plagiochilaceae Plagiochila (Dumort.) Dumort. sp.1

    28 Plagiochilaceae Plagiochila (Dumort.) Dumort. sp.2

    29 Riccardiaceae Riccardia Gray

    ตาราง 2 รายชื่อมอสส

    ลําดับ วงศ ชนิด

    1 Bartramiaceae Philonotis calomicra Broth.

    2 Bartramiaceae Philonotis glomerata Mitt.

    3 Bartramiaceae Philonotis thwaitesii Mitt.

    4 Brachytheciaceae Eurhynchium cf. swartzii (Turner) Curnowin Rabenh.

    5 Brachytheciaceae Homalothecium cf. neckeroides (Griff.) Paris.

    6 Bryaceae Anomobryum gemmigerum Broth.

    7 Bryaceae Brachymenium nepalense Hook. in Schwargr.

    8 Bryaceae Bryum apiculatum Schwaegr.

  • 24

    ลําดับ วงศ ชนิด

    9 Bryaceae Bryum argenteum Hedw.

    10 Bryaceae Bryum billardieri Schwaegr.

    11 Bryaceae Bryum caespiticium L. ex Hedw.

    12 Bryaceae Bryum capillare L. ex Hedw.

    13 Bryaceae Bryum clavatum (Schimp.) C. Muell.

    14 Bryaceae Bryum rubens Mitt.

    15 Calymperaceae Syrrhopodon gardneri (Hook.) Schwaegr.

    16 Dicranaceae Campylopus comosus (Schwaegr.) Bosch & Lac.

    17 Dicranaceae Campylopus durelli Broth. ex Gangulee

    18 Dicranaceae Campylopus ericoides (Griff.) Jaeg.

    19 Dicranaceae Campylopus laetus (Mitt.) Jaeg.

    20 Dicranaceae Campylopus introflexus (Hedw.) Brid.

    21 Dicranaceae Campylopus involutus (C. Muell.) Jaeg.

    22 Dicranaceae Dicranoloma fragile Broth.

    23 Entodontaceae Entodon macropodus (Hedw.) C. Muell.

    24 Fissidentaceae Fissidens crispulus Brid. var. crispulus

    25 Funariaceae Funaria hygrometrica Hedw.

    26 Hookeriaceae Callicostella papilata Mitt.

    27 Hookeriaceae Hookeriopsis secunda (Griff.) Broth.

    28 Hypnaceae Isopterygium albescens (Hook.) Jaeg.

    29 Hypnaceae Pseudotaxiphyllum pohliacarpum (Sull. & Lesq.) lwats.

    30 Leucobryaceae Leucobryum aduncum Dozy et Molk.

    31 Leucobryaceae Leucobryum javense (Brid.) Mitt.

    32 Leucobryaceae Leucobryum scabrum Sande Lac.

    34 Leucobryaceae Leucobryum scalare C. Muell. ex Fleisch.

  • 25

    ลําดับ วงศ ชนิด

    35 Leucobryaceae Ochrobryum sp.

    36 Neckeraceae Pinnatella sp.

    37 Meteoriaceae Aerobryidium aureonitens (Hook. ex Schwaegr.) Broth.

    38 Meteoriaceae Cryptopapillaria feae (Fleisch.) Menzel

    39 Myuriaceae Myurium borii (Dix.) Magill.

    40 Octoblepharaceae Octoblepharum albidum Hedw.

    41 Orthotrichaceae Macromitrium nepalense (Hook. & Grev.) Schwaegr.

    42 Polytrichaceae Pogonatum aloides (Hedw.) P. Beauv.

    43 Polytrichaceae Pogonatum inflexum (Lindb.) Sande Lac.

    44 Polytrichaceae Pogonatum cf. tortipes (Mitt.) Jaeg.

    45 Pottiaceae Hyophila involuta (Hook.) Jaeg.

    46 Racopilaceae Racopilum cuspidigerum (Schwaegr.) Aongstr.

    47 Racopilaceae Racopilum orthocarpum Wils. ex Mitt.

    48 Rhizogoniaceae Pyrrhobryum spiniforme (Hedw.) Mitt.

    49 Sematophyllaceae Acanthorrhynchium papillatum (Harv.) Fleisch.

    50 Sematophyllaceae Chionostomum rostratum (Griff.) C. Muell.

    51 Sematophyllaceae Wijkia tanytricha (Mont.) Crum

    52 Sphagnaceae Sphagnum cuspidatulum C. Muell.

    53 Thuidiaceae Thuidium glaucinum (Mitt.) Bosch & Lac.

  • 26

    รูปวิธานอยางงายสําหรับจัดจําแนกไบรโอไฟตในเขตอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา

    จังหวัดพิษณุโลก

    1. ตนแกมีโทไฟตแบบแผนทัลลัส.........................................................................................................2

    1′. ตนแกมีโทไฟตแบบใบ.....................................................................................................................6

    2. แผนทัลลัสมีความยาวและความกวางใกลเคียงกัน พบไรซอยดติดกับแผนทัลลัสเปนกระจุกจนแยก

    ไมออกระหวางดานใดท่ีเปนดานบน และดานใดเปนดานลาง มองแลวคลายผักสลัดจิ๋ว

    ................................................................................................................................Fossombronia

    2′. แผนทัลลัสมีความยาวมากกวาและความกวาง พบไรซอยดติดกับแผนทัลลัสดานลางของทัลลัส

    ........................................................................................................................................................3

    3. แผนทัลลัสบาง สีเขียวเขม พบเสนกลางใบบนแผนทัลลัสชัดเจน ขอบทัลลัสเปนหยักพับถ่ีและไม

    สมํ่าเสมอ .....................................................................................................................Domortiera

    3′. แผนทัลลัสหนา สีเขียวออน ไมพบเสนกลางใบบนแผนทัลลัสหรือพบเสนกลางใบแตไมชัดเจน

    ขอบทัลลัสเรียบหรือหยักเวา...........................................................................................................4

    4. ขอบทัลลัสหยักเวา............................................................................................................... Aneura

    4′. ขอบทัลลัสเรียบ…............................................................................................................................5

    5. ปลายทัลลัสเวาเปน 2 พู และเห็นแนวเสนกลางใบ.......................................................... Asterella

    5′. ปลายทัลลัสไมแยกเปน 2 พู ไมพบเสนกลางใบ.............................................................. Riccardia

    6. ใบเรียงตัว 2 แถว แบบสลับซายขวา มีหรือไมมีใบแถวท่ี 3 บริเวณกลางลําตน...............................7

    6′. ใบเรียงตัว มากกวา 3 แถว แบบรอบลําตน..................................................................................21

    7. ใบเรียงตัว 2 แถว แบบสลับซายขวา ไมมีใบแถวท่ี 3 บริเวณกลางลําตน.........................................8

    7′. ใบเรียงตัว 2 แถว แบบสลับซายขวา มีใบแถวท่ี 3 บริเวณกลางลําตน……………………………………12

    8. ปลายใบและขอบใบมีลักษณะคลายติ่งหนามยื่นออกมา ……………………………………..Plagiochilla

    8′. ปลายใบและขอบใบไมมีลักษณะคลายติ่งหนามยื่นออกมา ………………………………………….………..9

    9. ปลายใบเวาลึกเปน 2 แฉก ………………………………………………………………………………..Cephalozia

    9′. ปลายใบแหลมหรือมน ไมมีการเวาลึกเปน 2 แฉก …………………………………………………….………..10

    10. ปลายใบแหลม ฐานใบการแผหุมลําตน มีเสนกลางใบ 1 เสน..........................................Fissidens

    10′. ปลายใบมน ฐานใบไมมีการแผหุมลําตน ไมมีเสนกลางใบ...........................................................11

    11. ใบแผแบน................................................................................................................Cololejeunea

    11′. ใบมีการมวนงอ บริเวณขอบใบ…………………………………………………..………………..Jungermannia

  • 27

    12. ใบแถวท่ี 3 บริเวณกลางลําตน เรียงตัวดานบนของลําตน (ตรงขามกับดานท่ีเกิดไรซอยด)…

    ………………………………………….…………………………………………………………………………Racopilum

    12′. ใบแถวท่ี 3 บริเวณกลางลําตน เรียงตัวดานลางของลําตน (ดานเดียวท่ีเกิดไรซอยด)…………...…13

    13. ใบแถวขาง บริเวณฐานไมมีการพับมวน…………………………………………………………………………… 14

    13′. ใบแถวขาง บริเวณฐานมีการพับมวน หรือ มีลักษณะคลายถุง(lobule).....................................16

    14. ขอบใบแถวท่ี 3 (ใบแถวลาง) เรียบ………………………………………………………..……Lopholejeunea

    14′. ขอบใบแถวลางหยักเวาหรือเปนแฉกหนาม.................................................................................15

    15. ขอบใบแถวลางหยักเวา ปลายใบขางเปนแฉกหนาม 3 แฉก………………………..……………..Bazznia

    15′. ขอบใบแถวลางเปนแฉกหนามไมสมํ่าเสมอ 6-7 แฉก ปลายใบขางมนเรียบ…..…Heteroscyphus

    16. ใบแถวขาง บริเวณฐานมีการพับมวนเปนถุง ………………………………………..…………………Frullania

    16′. ใบแถวขาง บริเวณฐานมีการพับมวน ไมเปนถุง …………………………………………….………………….20

    17. ขอบใบแถวลางเรียบ…………………..………………………………………………..…………………………..……18

    17′. ขอบใบแถวลางหยักเวาหรอืเปนแฉกหนาม.................................................................................15

    18. ปลายใบแถวขางโคงมน………………………………………………………...………………………Acrolejeunea

    18′. ปลายใบแถวขางแหลมหรือมีหนาม.............................................................................................19

    19. ปลายใบแถวขางแหลม………………………………………………………...…………………Mastigolejeunea

    19′. ปลายใบแถวขางมีหนาม........................................................................................Spruceanthus

    20. ขอบใบแถวลางหยักเวาเปน 2 แฉก........................................................................Chilolejeunea

    20′. ขอบใบแถวลางเปนแฉกหนาม.................................................................................Ptychanthus

    21. การเจริญของลําตนเปนแบบทอดนอน........................................................................................22

    21′. การเจริญของลําตนแปนแบบตั้งตรง……………………………………………………………………………….35

    22. ลําตนหลักท่ีติดกับแหลงอาศัยมีลักษณะทอดนอน แตก่ิงตั้งตรง เม่ือแหงใบจะมวนบิดเปนเกลียว

    ................................................................................................................................Macromitrium

    22′. ลําตนหลักและก่ิงลักษณะทอดนอน เม่ือแหงใบจะมวนหยิกหรือไมหยิก....................................23

    23. ลําตนหลักท่ีติดกับแหลงอาศัยมีลักษณะทอดนอน แตก่ิงตั้งตรง เม่ือแหงใบจะมวนบิดเปนเกลียว

    ................................................................................................................................Macromitrium

    23′. ก่ิงเปนกระจุก .............................................................................................................Sphagnum

    23. ก่ิงแตกแขนง แผออกดานหรือหอยลงมา.....................................................................................24

    23′. ปลายใบแหลม.............................................................................................................................25

    23. ปลายใบแหลมและหยักเปนคลื่น...................................................................... Cryptopapillaria

  • 28

    25. มีเสนกลางใบ 1-2 เสน................................................................................................................26

    25′. ไมมีเสนกลางใบ.........................................................................................................................31

    26. เสนกลางใบ 2 เสน......................................................................................................................27

    26′. เสนกลางใบ 1 เสน.....................................................................................................................28

    27. เสนกลางใบ 2 เสน ยาวเกือบถึงปลายใบ และใบคอนขาวสมมาตร..........................Callicostella

    27′. เสนกลางใบ 2 เสน ยาว 2 ใน 3 ของความยาวใบ และใบไมสมมาตร................... Hookeriopsis

    28. เสนกลางใบยาวเกือบถึงปลายใบ เซลลใบคอนขางกลม พบเซลลขอบใบ (เซลลรูปรางยาวแหลม

    หัวแหลมทาย) บริเวณเกือบถึงขอบใบ............................................................................Pinnatella

    28′. เสนกลางใบยาว 1 ใน 2 หรือ 2 ใน 3 ของความยาวใบ เซลลใบยาว ไมพบเซลลขอบใบ

    ......................................................................................................................................................29

    29. เสนกลางใบยาว 1 ใน 2 เซลลใบยาว ...............................................................Homalothecium

    29′. เสนกลางใบยาว 2 ใน 3 เซลลใบยาว..........................................................................................30

    30. ผนังเซลลเรียบ............................................................................................................Eurhychium

    30′. ผนังเซลลมีปุม 1ปุม กลางเซลล..............................................................................Aerobryidium

    31. มีเซลล alar (เซลลท่ีสีลักษณะพองบวมอยูตรงตําแหนงมุมของซานใบ)......................................32

    31′. ไมมีเซลล alar ผนังเซลลมีปุม 1ปุม กลางเซลล..........................................................................34

    32. เซลล alar เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตรัส....................................................................................Myrurium

    32′. เซลล alar เปนรูปสี่เหลีย่มผืนผา................................................................................................33

    33. ปลายใบเรียวแหลม.....................................................................................Acanthorrhynchium

    33′. ปลายใบแหลม..........................................................................................Chinostomum, Wijkia

    34. ปลายใบเรียวแหลม...............................................................Isoterygium, Pseudotaxiphyllum

    34′. ปลายใบแหลม.................................................................................................................Entodon

    35. เซลลใบเรียงตัวหลายชั้น..............................................................................................................36

    35′. เซลลใบเรียงตัว 1 ชั้น..................................................................................................................39

    36. เซลลใบประกอบดวยเซลล 2 แบบ คือ เซลลใส (leucocyst) และ เซลลสีเขียว (chlorocyst)..37

    36′. เซลลใบประกอบดวยเซลล 1 แบบ…………………………………………………………………………………..38

    37. ใบยาวรูปแถวและโคงงอใบดานหลัง เม่ือตัดตามขวางใบ เซลลใสเรียงตัวหลายชั้น

    ……………………………………………………………………………………………..……………….Octoblepharum

    37′. ใบรูปหอกและโคงงอใบดานขาง หรือดานบน เม่ือตัดตามขวางใบ เซลลใสเรียงตัว 2 ชั้น

    …………………………………………………………………………………………………………………….Leucobryum

  • 29

    38. ขอบใบเรียบ ไมพบการเรียงตัวของเซลลหลายชั้นบริเวณดานบนใบ....................... Cambyropus

    38′. ขอบใบเปนหยัก พบการเรียงตัวของเซลลหลายชั้นบริเวณดานบนใบ...................... Pogonatum

    39. ใบเรียวแหลม............................................................................................................................. 40

    39′. ใบรูปขนาน หรือหอก................................................................................................................ 41

    40. ขอบใบเรียบ ...........................................................................................................Dicranoloma

    40′. ขอบใบหยัก เรียงตัวสองชั้น ...................................................................................Pyrrhobryum

    41. ใบรูปขนาน..................................................................................................................................42

    41′. ใบรูปหอก.................................................................................................................................. 43

    42. เซลลมีหลายปุม........................................................................................................Syrrhopodon

    42′. เซลลเรียบ.......................................................................................................................Hyophila

    43. ปลายใบเรียวแหลม............................................................................... Brachymenium, Bryum

    43′. ปลายใบแหลม.............................................................................................................................44

    44. ขอบใบเรียบ ..........................................................................................Anomobryum, Funaria

    44′. ขอบใบหยัก เรียงตัวสองชั้น .........................................................................................Philonotis

  • 30

    1. ANEURACEAE

    แผนทัลลัสทอดนอนหรือตั้งตรงกับแหลงอาศัย มีสีเขียวสดจนถึงสีเขียวคล้ําแผนทัลลัลไมมี

    เสนกลางใบ บริเวณปลายทัลลัสพบปุมเล็กๆ ไมพบ ventral scales ตนเพศเมียจะข้ึนบริเวณ

    ขอบทัลลัส ไมพบวงกลีบรวม อับสปอรรูปทรงรี เปดออกเปน 4 เสี่ยง มีผนัง 2 ชั้น ขางในมีสปอร

    ขนาดเล็ก มีตัวชวยดีดสปอร 1 อัน

    Aneura Dumort. sp.

    ทัลลัสวาว สีเขียวสดถึงเขียวคล้ํา ขนาดความยาว 10 มิลลิเมตร ขนาดความกวาง 0.5

    มิลลิเมตร แผนทัลลัลไมมีเสนกลางใบ ขอบทัลลัสหนา ปลายทัลลัสพบปุมเล็กๆ มีหยดน้ํามันขนาดเล็ก

    จํานวนมากใน 1 เซลล

    แหลงอาศัย บนดิน และหิน

    สภาพท่ีข้ึน ชื้นแฉะ

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ ลานหินปุม

    หมายเลขตัวอยาง Inpia38 และ 45

    ภาพ 18

    เอกสารอางอิง (กันยา, 2553)

  • 31

    ภาพ 18 Aneura Dumort. sp. (Aneuraceae)

    ก) แหลงอาศัย ข) ตนแกมีโทไฟต ค) ทัลลัสตัดตามขวาง และ ง) เซลลทัลลัส ภาพจากตัวอยาง

    Inpia45

    สัญลักษณ = 1 มิลลิเมตร = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ง ค

    ข ก

  • 32

    2. AYTONIACEAE

    ทัลลัสมีขนาดปานกลาง รูปรางคลายดาว ชองอากาศหนา 2 ชั้นเซลลหรือมากกวา มี

    ventral scale ขนาดใหญเรียง 2 แถว ตนเพศผูอยูเปนกลุมไมสมมาตรกัน ฝงตัวอยูพ้ืนผิวดานหลัง

    ของทัลลัสบริเวณฐาน ตนเพศเมียอยูบริเวณฐานทัลลัส

    Asterella khasyana (Griff.) Pandé et al.

    ทัลลัสมีขนาดกลาง สีเขียว ผิวดานหลังของทัลลัสลักษณะคลายรางแห มีรู และscale ขนาด

    ใหญ 2 แถว แตละ scale มี 1-4 รยางค พบชองอากาศหนาหลายชั้นเซลล ไมพบเสนกลางใบ ตนเพศ

    ผูไมสมมาตรกันอยูบริเวณดานหลังของทัลลัส ตนเพศเมียพบบริเวณปลายใบของทัลลัส

    แหลงอาศัย บนหิน

    สภาพท่ีข้ึน รมเงา และชื้นแฉะ

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ ผาชูธง

    หมายเลขตัวอยาง Inpia64

    ภาพ 19

    เอกสารอางอิง (กันยา, 2553)

  • 33

    ภาพ 19 Asterella khasyana (Griff.) Pandé et al. (Aytoniaceae)

    ก) แหลงอาศัย ข) ตนแกมีโทไฟต ค) เซลลทัลลัส และ ง) ไรซอยด ภาพจากตัวอยาง Inpia64

    สัญลักษณ = 1 มิลลิเมตร = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ก ข

    ค ง

  • 34

    3. CEPHALOZIACEAE

    เปนพืชเลื้อยหรือเกาะตามแหลงอาศัย สีเขียวซีดถึงน้ําตาล แตกก่ิงเหนือขอหรือดานขาง

    เชนเดียวกับ Frullaniaใบออกบริเวณดานขางของลําตน มีการเรียงตัวแบบใบบนทับใบลาง ขอบใบ

    เรียบ ปลายใบมี 2 พูหรือไมมี ชั้นคิวตินเรียบหรือมีปุม เซลลใบไมคอยใหญและมีปุม ผนังเซลลบาง ใบ

    ดานลางมีขนาดเล็กหรือไมมี ตนเพศเมียออกบริเวณปลายยอดหรือก่ิง ตนเพศผูถูกลอมรอบดวยวง

    กลีบรวม อับสปอรยาวมีผนัง 2 ชั้น

    Cephalozia hamatiloba Steph.

    ลําตนเล็กถึงปานกลาง ขนาดต้ังแต 0.5-2 มิลลิเมตร สีเขียวซีดไปถึงน้ําตาล ทอดนอนตาม

    แหลงอาศัย ลําตนบางครั้งพบเสนใยขนาดยาว ใบออกบริเวณดานขางของลําตน เรียงตัวแบบใบบน

    ทับใบลาง ใบไมคอยแผออก มี 2 พูแบบเวา ขอบใบเรียบ เซลลใบมีขนาดใหญ ผนังเซลลบาง ใบ

    ดานลางไมมี ชั้นคิวตินเรียบหรือมีปุมยื่นออกมา พบหยดน้ํามัน ไรซอยดกระจัดกระจาย ตนเพศผูแตก

    หนอบริเวณก่ิง ตนเพศผูแตกหนอจากวงกลีบรวม อับสปอรยาว

    แหลงอาศัย บนหิน และบนดิน

    สภาพท่ีข้ึน มีรมเงา

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ ผาชูธง โรงเรียนการเมืองการทหาร และกังหันน้ํา

    หมายเลขตัวอยาง Thianpom1, 2, 4, 20, และ 77

    ภาพ 20

    เอกสารอางอิง (กันยา, 2553)

  • 35

    ภาพ 20 Cephalozia hamatiloba Steph. (Cephaloziaceae)

    ก) ตนแกมีโทไฟต ข) ใบดานขาง และ ค) เซลลใบดานขาง ภาพจากตัวอยาง Thianpom2

    สัญลักษณ = 1 มิลลิเมตร =0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ค ข

  • 36

    4. FOSSOMBRONIACEAE

    มีการเจริญทอดนอนกับแหลงอาศัย มักจะเจริญคลายกับกลีบดอกกุหลาบ ทัลลัสมีลักษณะ

    คลายใบซ่ึงแตกตางจากลําตนและใบขอบทัลลัสมีลักษณะเปนพูตื้นๆ หรือเปนคลื่น ไมพบ ventral

    scale ไรซอยดมักเปนสีแดงเขม ตนเพศเมียพบบริเวณดานหลังของทัลลัส ตนเพศผูถูกลอมรอบดวย

    วงกลีบรวม อับสปอรรูปทรงกลมจนถึงทรงรี ภายในมีสปอรขนาดใหญ

    Fossombronia Raddi

    มีการเจริญทอดนอนกับแหลงอาศัยทัลลัสสีเขียว ขนาดเล็ก ยาว 4 มิลลิเมตร กวาง 2-3

    มิลลิเมตร ทัลลัสไมสมมาตรกันปลายทัลลัสโคงมน หยัก คลื่น หรือยน เซลลมีขนาดใหญ ผนังเซลล

    หนา ไรซอยดมักเปนสีแดงเขมบางครั้งมีสีน้ําตาลออน ตนเพศเมียพบบริเวณปลายทัลลัสดานหลัง ไม

    พบวงกลีบรวม ตนสปอรโรไฟตถูกลอมรอบโดยวงกลีบรวม กานชูอับสปอรสั้นและหนา อับสปอรมี

    รูปรางกลมภายในมีสปอรขนาดใหญ

    แหลงอาศัย บนหิน

    สภาพท่ีข้ึน ชื้นแฉะ

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ ผาชูธง

    หมายเลขตัวอยาง Inpia57 และ 68

    ภาพ 21

    เอกสารอางอิง (กันยา, 2553)

  • 37

    ภาพ 21 Fossombronia Raddi (Fossombroniaceae)

    ก) แหลงอาศัย ข) ตนแกมีโทไฟตค) เซลลทัลลัส ง) ไรซอยด ภาพจากตัวอยาง Inpia57

    สัญลักษณ = 1 มิลลิเมตร = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ก ข

    ค ง

  • 38

    5. FRULLANIACEAE

    มีสีเขียว น้ําตาลแดง หรือน้ําตาลอมมวง ลําตันมักแตกแขนง หรือแตกก่ิงแบบขนนก ลําตน

    ประกอบดวยเซลลคลายๆกันท้ังหมด ก่ิงหรือแขนงมักจะเกิดแทนท่ีตําแหนงท่ีเปนลอบบลูของใบ ใบ

    ดานขางมีลักษณะเปน 2 สวนหรือ 2 พู แยกออกจากกัน โดยพูดานบนท่ีเรียกวา โลบ มีลักษณะแบน

    สวนพูดานลางเรียกวา ลอบบูล มีลักษณะเปนถุง ใบดานลางมีลักษณะเปน 2 แฉก นอกจากเซลลชั้น

    รอบนอกประกอบดวยเซลลท่ีมีขนาดเล็กกวาเซลลตรงกลางใบประกอบดวยเซลลหนึ่งชั้น ภายในเซลล

    พบคลอโรพลาสตมากมาย และมีหยดน้ํามันรูปรางกลมรี (สมใจ, 2541) ไรซอยดเกิดเปนกระจุกท่ี

    ตําแหนงโคนหรือตรงกลางของใบดานลาง ดานปลายเปดของเพอริแอนธมีลักษณะแบน

    Frullania Raddi sp.1

    เปนพืชสกุลใหญ มีสมาชิกประมาณ 700 ชนิด ข้ึนอาศัยตามท่ีรมชื้น อาจจะพบข้ึนบนหิน

    หรือข้ึนตามเปลือกไมโคนลําตนพืช บางชนิดข้ึนเปนพืชอิงอาศัย (epiphytes) หอยระยาลงมา

    (Sornsamran & Thaitong, 1995)

    แกมีโทไฟตมีสีน้ําตาลแดง หรือสีคล้ําจนเกือบจะออกเปนสีดํา มีใบเรียงเปน 3 แถวบนลําตน

    ซ่ึงเรียงออกดานขาง 2 แถว และอยูดานลาง 1 แถว ใบดานขางเรียงตัวชิดกันและเรียงซอนกันเปน

    แบบใบลางทับใบบน ใบดานขางแยกเปน 2 สวน ใบสวนท่ีเปนโลบจะมีขนาดใหญกวาสวนท่ีเปน

    ลอบบูล มักมีรูปรางกลมหรือเกือบกลมและขอบใบเรียบ สวนลอบบูลมีลักษณะเปนถุงปองปลายเปด

    ใหน้ําเขาไดเปนโครงสรางท่ีชวยในการเก็บรักษาความชื้นไว

    แหลงอาศัย เปลือกไม

    สภาพท่ีข้ึน ท่ีรม

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ ลานหินปุม

    หมายเลขตัวอยาง Inpia11, 22 และ 61

    ภาพท่ี 22

  • 39

    ภาพ 22 Frullania Raddi sp.1 (Frullaniaceae)

    ก) แหลงอาศัย ข) ตนแกมีโทไฟต ค) ใบดานลาง ง) ใบดานขาง จ) เซลลใบดานลาง ฉ) เซลลใบ

    ดานขาง และ ช) ลอบบูล ภาพจากตัวอยาง Inpia22

    สัญลักษณ = 1 มิลลิเมตร = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ฉ จ

    ง ค

    ข ก

  • 40

    Frullania Raddi sp.2

    แกมีโทไฟตมีสีน้ําตาลแดง หรือสีคล้ําจนเกือบจะออกเปนสีดํา มีใบเรียงเปน 3 แถวบนลําตน

    ซ่ึงเรียงออกดานขาง 2 แถว และอยูดานลาง 1 แถว ใบดานขางเรียงตัวชิดกันและเรียงซอนกันเปน

    แบบ อินคิวบัส ใบดานขางแยกเปน 2 สวน ใบสวนท่ีเปนโลบจะมีขนาดใหญกวาสวนท่ีเปนลอบบูล มัก

    มีรูปรางกลมหรือเกือบกลมและขอบใบเรียบ สวนลอบบูลมีลักษณะเปนถุงปองปลายเปดใหน้ําเขาได

    เปนโครงสรางท่ีชวยในการเก็บรักษาความชื้นไว ใบ ประกอบดวยเซลลเพียงชั้นเดียว ภายในเซลลมี

    คลอโรพลาสตมากมาย และมีหยดน้ํามันรูปรางกลมรี

    แหลงอาศัย: บนหิน ตนไม และเปลือกไม

    สภาพท่ีข้ึน: ชุมชื้น มีฝน

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล : 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ: โรงเรียนการเมืองการทหาร และกังหันน้ํา

    หมายเลขตัวอยาง: Saeyang1,Thianpom7, 8, 10, 11, 16, 19, 22, 28,

    29, 30, 43, และ 61

    ภาพ: 23-26

    เอกสารอางอิง: (สมใจ, 2541)

  • 41

    ภาพ 23 Frullania Raddi sp.2 (Frullaniaceae)

    ก) การแตกก่ิง ข) ใบดานขาง ค) ใบดานลาง ง) เซลลใบดานขาง จ) เซลลใบดานลาง ฉ) ลอบบูล ภาพ

    จากตัวอยาง Saeyang1

    สัญลักษณ = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ฉ จ ง

    ค ข ก

  • 42

    ภาพ 24 Frullania Raddi sp.3 (Frullaniaceae)

    ก) แหลงอาศัย ข) การแตกก่ิง ค) ใบดานขาง ง) ใบดานลาง จ) เซลลใบดานขาง ฉ) เซลลใบดานลาง

    ช) การเรียงตัวของใบ ภาพจากตัวอยาง Thianpom30

    สัญลักษณ = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    จ ง

    ฉ ช

  • 43

    ภาพ 25 Frullania Raddi sp.4 (Frullaniaceae)

    ก) แหลงอาศัย ข) การแตกก่ิง ค) ใบดานลาง ง) เซลลใบดานลาง จ) เซลลใบดานขาง ฉ) ลอบบูล ช)

    ใบดานขาง ภาพจากตัวอยาง Thianpom61

    สัญลักษณ = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ช ฉ จ

    ค ง

  • 44

    ภาพ 26 FrullaniaRaddi sp.5 (Frullaniaceae)

    ก) เพอริแอนธข) การแตกก่ิง ค) ใบดานขาง ง) เซลลใบดานขาง จ) เซลลใบดานลาง ฉ) ใบดานลาง

    ภาพจากตัวอยาง Thianpom8

    สัญลักษณ = 0.5มิลลิเมตร = 0.1มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    จ ฉ ง

    ค ข ก

  • 45

    6. GEOCALYCACEAE

    ลําตนเล็ก สีเขียวออนไปถึงน้ําตาลออน ลําตนทอดนอนกับแหลงอาศัย ดานลางของ ลําตน

    หรือฐานใบดานลางมีไรซอยดข้ึนกระจัดกระจาย ก่ิงไมสมมาตรกัน ใบเรียงตัวแบบใบบนทับใบลาง ใบ

    แผกวาง บางทีโคงลง ออกหางกันเล็กนอยหรือซอนเหลื่อมกันแบบหลวมๆ ปลายใบปานมนหรือตัด

    มักจะมี 2 หยักหรือแฉก ขอบใบเรียบไปถึงหยัก เซลลใบแตกตางกัน มักมีขนาดปานกลาง ผนังเซลล

    หนาเสมอกันพบหยดน้ํามันมากในเซลล ใบดานลางเชื่อมติดบริเวณดานขางของฐานใบ

    Heteroscyphus coalitus (Hook.) Schiffn.

    ลําตนขนาดกลางไปถึงใหญ กวาง 2–5 มิลลิเมตร สีเขียวออน หรือเขียวเขม ลําตนทอดนอน

    กับท่ีอาศัย ไมคอยแตกก่ิง ใบออกสลับหรือตรงขาม มีการเรียงตัวแบบใบบนทับใบลางปลายใบกลม

    เรียบหรือซ่ีฟนมีลักษณะสั้นเปนแฉก มองจากดานหลังใบจะเห็นขอบใบเรียบ หยัก และมักเปนคลื่น

    ผนังเซลลบาง ชั้นคิวตินเรียบหรือมีปุม หยดน้ํามันเล็ก ใบดานลางเชื่อมกับใบดานขาง มี 2 พูมักเปนซ่ี

    ไรซอยดใสไมมีสีพบมาก มักอยูเปนกระจุกท่ีฐานของใบดานลาง ตนเพศเมียจะอยูบนก่ิงดานหลัง วง

    กลีบรวมไมมีสัน มักแทรกอยูภายในใบ จะแตก 3 พูมีขน อับสปอรเปนทรงกระบอก (กันยา, 2553)

    แหลงอาศัย บนดิน

    สภาพท่ีข้ึน ท่ีรม

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ ผาชูธง

    หมายเลขตัวอยาง Inpia69

    ภาพ 27

  • 46

    ภาพ 27 Heteroscyphus coalitus (Hook.) Schiffn.

    ก) ตนแกมีโทไฟต ข) การเรียงตัวของใบดานขาง ค) ใบดานลาง ง) ใบดานขาง จ) เซลลปลายใบ

    ดานขาง ฉ) เซลลใบดานขาง และ ช) เซลลใบดานลาง ภาพจากตัวอยาง Inpia69

    สัญลักษณ = 1 มิลลิเมตร = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ช ฉ

    จ ง ค

    ข ก

  • 47

    Heteroscyphus Sehiffn.

    ลําตนขนาดกลางถึงใหญ กวาง 2 – 5 มิลลิเมตร มีสีเขียวออน หรือสีเขียวเขม ลําตนเลื้อย

    แนบกับพ้ืนท่ีอาศัย ไมคอยแตกก่ิง ใบ มีการเรียงตัวแบบ ซัคคิวบัส ออกสลับ หรือตรงขาม ปลายใบ

    กลม (rounded) เรียบ (entire) ซ่ีฟน (teeth) จะมีลักษณะสั้นเปนแฉก มองจากดานหลังใบจะเห็น

    ขอบใบเรียบ หยัก และมักจะเปนคลื่น ผนังเซลลบาง เห็น trigones ชัดเจน หยดน้ํามันเล็ก ใบ

    ดานลาง จะเชื่อมกับใบดานขาง มี 2 พู มักจะเปนซ่ี ไรซอยดมีมาก ใส มักอยูเปนกระจุกท่ีฐานของใบ

    ดานลาง โครงสรางสืบพันธุเพศเมียจะอยูบนก่ิงดานหลัง เพอริแอนธไมมีสัน มักจะแทรก และอยู

    ภายในใบ จะแตก 3 โลบ มีขน อับสปอร เปนทรงกระบอก

    แหลงอาศัย : บนหิน และตนไม

    สภาพท่ีข้ึน : ฝนตกครึ้ม ชุมชื้น

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล : 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ : โรงเรียนการเมืองการทหาร

    หมายเลขตัวอยาง : Thianpom3, 64

    ภาพ : 28 – 29

    เอกสารอางอิง : (กันยา, 2553)

  • 48

    ภาพ 28 Heteroscyphus Schiffn. sp.2 (Geocalyaceae)

    ก) แหลงอาศัย ข) ใบดานขาง ค) การเรียงตัวของใบ ง) เซลลใบดานขาง ภาพจากตัวอยาง Thianpom64

    สัญลักษณ = 0.5มิลลิเมตร = 0.1มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ค ง

    ข ก

  • 49

    ภาพ 29 Heteroscyphus Schiffn. sp.3 (Geocalycaceae)

    ก) ใบดานลาง ข) การแตกก่ิง ค) ใบดานขาง ง) การเรียงตัวของใบ ไรซอยด จ) เซลลใบดานลางและ

    หยดน้ํามัน ฉ) เซลลใบดานขาง ภาพจากตัวอยาง Thianopm3

    สัญลักษณ = 0.5มิลลิเมตร = 0.1มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ง ค

    ข ก

    ฉ จ

  • 50

    7. JUNGERMANNIACEAE

    ลําตนมีขนาดเล็กท่ีแข็งแรง สีเขียวซีดถึงน้ําตาลทึบ ลําตนทอดนอนหรือตั้งตรงกับแหลงอาศัย

    ไรซอยดกระจัดกระจายแทรกอยูใบดานขาง ใบเรียงตัวแบบขอบใบบนทับขอบใบลาง ขอบใบเรียบ ใบ

    เวาตื้นหรือมี 2 ถึงหลายๆ พู เซลลขอบใบบวม หรือผนังเซลลหนาเทากัน ชั้นคิวตินเรียบ หยดน้ํามัน

    ขนาดเล็กไปถึงใหญ มีหลายแบบ มีนอยหรือมีมากตอเซลล ใบดานลางไมพบหรือถาพบจะมีขนาดเล็ก

    รูปหอก ไมมีพูหรือมี 2 พู

    Jungermannia L.

    ลําตนขนาดเล็กถึงกลาง สีเขียวซีดถึงแดงหรือน้ําตาล ทอดนอนกับแหลงอาศัย แตกก่ิงบริเวณ

    ดานขางเหนือขอ ใบเรียงตัวแบบขอบใบบนทับขอบใบลาง ออกแบบสลับ รูปไข ปลายใบโคงมนกวาง

    ขอบใบเรียบ เซลลใบใหญผนังบาง ชั้นคิวตินเรียบหรือมีปุมยื่นออกมา หยดน้ํามันเม็ดละเอียด ใบ

    ดานลางไมมี ไรซอยดกระจัดกระจายบริเวณลําตน

    แหลงอาศัย บนดิน

    สภาพท่ีข้ึน ท่ีรม แฉะ

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ ลานหินปุม

    หมายเลขตัวอยาง Inpia41, 43, 44 และ 56

    ภาพ 30

    เอกสารอางอิง (กันยา, 2553)

  • 51

    ภาพ 30 Jungermannia L. (Jugermanniaceae)

    ก) แหลงอาศัย ข) ตนแกมีโทไฟต ค) ใบดานขาง และ ง) เซลลใบดานขาง ภาพจากตัวอยาง Inpia41

    สัญลักษณ = 1 มิลลิเมตร = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ข ก

    ค ง

  • 52

    8. LEJEUNEACEAE

    ตนขนาดเล็กลักษณะบาง มีสีเขียวออนหรือน้ําตาลดํา ลําตนข้ึนแนบกับแหลงอาศัย แตกก่ิง

    ดานขางหรือบริเวณดานปลายยอด ไรซอยดติดอยูสวนของฐานใบดานลาง ใบมีการเรียงทับซอนกัน

    แบบ อินคิวบัส เรียงซอนเหลื่อมติดกัน หรือหางกัน มีรูปทรงและขนาดตางๆ ขอบใบเรียบ พบลอบบูล

    ใบดานลางชัดเจน เรียบ ขอบใบเรียบ (entire) หรือ หยักซ่ีฟน (dentate) มี 2 พู หรือไมมี โครงสราง

    สืบพันธุเพศผูมักพบบนก่ิงยาว ใบรองยอยบริเวณขอบใบเรียบถึงหยักซ่ีฟน เพอริแอนธรูปไขกลับ

    (obovate) แบน หรือพองมีสัน สันเรียบ หรือหยัก

    Acrolejeunea fertilis (Reinw. et al.) Schiffn

    ลําตนคอนขางเล็ก สีเขียว เหลืองไปถึงน้ําตาล มีการแตกก่ิงดานขาง ใบกลมหอรอบลําตน ใบ

    ดานขางมีปลายใบโคงมน ขอบใบเรียบ เซลลใบยาวและเล็ก พบหยดน้ํามัน ใบดานลางเวาเปนสอง

    โลบ

    แหลงอาศัย เปลือกไม

    สภาพท่ีข้ึน ท่ีรม

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ ลานหินปุม

    หมายเลขตัวอยาง Inpia72

    ภาพ 31

    เอกสารอางอิง

    Acrolejeunea (Spruce) Schiffn. sp.1

    ลําตนคอนขางเล็ก สีเขียว เหลืองไปถึงน้ําตาล มีการแตกก่ิงดานขาง ใบกลมหอรอบลําตน ใบ

    ดานขางมีปลายใบโคงมน ขอบใบเรียบ เซลลใบยาวและเล็ก พบหยดน้ํามัน ใบดานลางขอบเรียบ

    ปลายโคงมน

    แหลงอาศัย เปลือกไม

    สภาพท่ีข้ึน ท่ีรม

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ ลานหินปุม

    หมายเลขตัวอยาง Inpia4, 19, 24, 31, 52, และ 67

    ภาพ 32

    เอกสารอางอิง (กันยา, 2553)

  • 53

    ภาพ 31 Acrolejeunea fertilis (Reinw. et al.) Schiffn. (Lejeuneaceae)

    ก) แหลงอาศัย ข) ตนแกมีโทไฟต ค) ใบแถวลาง ง) ใบ จ) การเรียงตัวของใบ ฉ) เซลลใบ และ ช)

    เซลลใบแถวลาง ภาพจากตัวอยาง Inpia72

    สัญลักษณ = 1 มิลลิเมตร = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ง จ

    ฉ ช

  • 54

    ภาพ 32 Acrolejeunea (Spruce) Schiffn. sp.1 (Lejeuneaceae)

    ก) แหลงอาศัย ข) ตนแกมีโทไฟต ค) การเรียงตัวของใบดานขาง ง) ใบดานขาง จ) ใบดานลาง ฉ)

    ลอบบูล ช) เซลลใบดานขาง และ ซ) เซลลใบดานลาง ภาพจากตัวอยาง Inpia31

    สัญลักษณ = 1 มิลลิเมตร = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ค ง จ

    ฉ ช ซ

  • 55

    Cheilolejeunea intertexta (Lindenb.) Steph.

    ลําตนขนาดเล็กถึงกลางสีเขียวหรือเขียวออน จะแตกก่ิงบริเวณลําตนเหนือขอ คลายแบบขน

    นก ใบรูปไขขอบใบเรียบปลายใบกลมหรือแหลม ลอบบูลพองขนาดเล็กหรือใหญดานหลังไมมีเซลลยื่น

    ออกมา มีหยดน้ํามันใหญมี 1–2 อันตอเซลลและเปนกลุมคลายองุน พบเซลลใสมีปุม ใบดานลางมี 2

    พู ตนเพศผูสั้นพบท่ีก่ิงดานขาง ตนเพศเมียยาวอยูบนก่ิงมีใบยอยรองรับวงกลีบรวมมี 4–5 สันแบบ

    เรียบ (กันยา, 2553)

    แหลงอาศัย เปลือกไม

    สภาพท่ีข้ึน ท่ีรม

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ ลานหินปุม ผาชูธง และลานหินแตก

    หมายเลขตัวอยาง Inpia 15, 20, 26, 30, 34, 42, 46, 51, 54, 63, 65,70,

    71, 74, 75, 78 และ79

    ภาพ 33

    เอกสารอางอิง (กันยา, 2553)

  • 56

    ภาพ 33 Cheilolejeunea intertexta (Lindenb.) Steph. (Lejeuneaceae)

    ก) ตนสปอโรไฟต ข) ตนแกมีโทไฟต ค) กานชูอับสปอรและอับสปอร ง) ใบดานขาง จ) ใบดานลาง ฉ)

    เซลลใบดานขาง ช) เซลลใบดานลาง ภาพจากตัวอยาง Inpia26

    สัญลักษณ = 1 มิลลิเมตร = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ก ข

    ง จ

    ฉ ช

  • 57

    Cheilolejeunea (Spruce) Schiffn. sp.1

    ตนขนาดกลางถึงเล็ก มีสีเขียวหรือเขียวออน จะแตกก่ิงบริเวณลําตนเหนือขอ คลายแบบขน

    นก ใบรูปไข (ovate) ขอบใบเรียบ ปลายใบกลม (rounded) หรือแหลม (acute) ดานหลังไมมีเซลล

    ยื่นออก มีหยดน้ํามันมาก ลอบบูลใหญ เซลลสวนใหญประกอบดวย 1 – 2 และเปนกลุมคลายองุน

    ลอบบูลพอง พบปุมเซลลใส ใบดานลาง มี 2 พู โครงสรางสืบพันธุเพศผูจะสั้นพบท่ีก่ิงดานขาง

    โครงสรางสืบพันธุเพศเมียยาวอยูบนก่ิงมีใบยอยรองรับและใบดานลาง เพอริแอนธมี 4 – 5 สัน เรียบ

    แหลงอาศัย: บนหิน เปลือกไม บนดิน และตนไม

    สภาพท่ีข้ึน: ชุมชื้น มีฝน

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล : 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ: โรงเรียนการเมืองการทหาร และกังหันน้ํา

    หมายเลขตัวอยาง: Thianpom 63, 46, และ 74

    ภาพท่ี: 34

    เอกสารอางอิง: (กันยา, 2553)

  • 58

    ภาพ 34 Cheilolejeunea (Spruce) Schiffn. sp.1 (Lejeuneaceae)

    ก) การเรียงตัวของใบ และลอบบูล ข) การแตกก่ิง ค)ใบดานขาง ง) ใบดานลาง จ) เซลลใบดานขาง ฉ)

    เซลลใบดานลาง ภาพจากตัวอยาง Thianpom63

    สัญลักษณ = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    จ ฉ

    ง ค

    ข ก

  • 59

    Cololejeunea (Spruce) Schiffn.

    ตนขนาดเล็ก ลําตนไมสมมาตร คลายแบบขนนก แตกก่ิงบริเวณเหนือขอ ใบ มักจะมีขนาด

    แตกตางกัน มีเซลลใส มีหยดน้ํามันกระจายอยูท่ัวเซลลของใบดานขางอยูภายในเซลล ลอบบูลมี

    ลักษณะแคบติดกับลําตน หรือโดยท่ัวไปท่ีปลายใสมีตุม ใกลฐานใบ ไมมีใบดานลาง

    แหลงอาศัย: บนหิน เปลือกไม บนดิน และตนไม

    สภาพท่ีข้ึน: ชุมชื้น มีฝน

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล : 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ: กังหันน้ํา

    หมายเลขตัวอยาง: Thianpom 32, 33, 34, และ 41

    ภาพ: 35

    เอกสารอางอิง: (กันยา, 2553)

  • 60

    ภาพ 35 Cololejeunea (Spruce) Schiffn. (Lejeuneaceae)

    ก) แหลงอาศัย ข) ใบดานขาง ค) เซลลใบดานขาง ง) การเรียงตัวของใบ ภาพจากตัวอยาง

    Thianpom34

    สัญลักษณ = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ข ก

    ค ง

  • 61

    Lopholejeunea (Spruce) Schiffn.

    ลําตนมีขนาดเล็กถึงปานกลาง สวนใหญจะสีเขียวคล้ํา แตถาแหงจะเปนสีเขียวน้ําตาลถึงสีดํา

    แตกก่ิงแบบขนนก ใบเรียงซอนเหลื่อม รูปไขถึงรูปไขแกมขอบขนาน ปลายใบโคงมนหรือปาน ขอบใบ

    เรียบ ผนังเซลลบางจนถึงหนา มักพบเม็ดสีดํา มีหยดน้ํามันเหมือนกันจํานวนมาก ลอบบูลมีซ่ีเล็กๆ 1-

    2 ซ่ี ใบดานลางมีขนาดใหญ รูปวงกลมหรือรูปไต ขอบใบเรียบ ตนเพศผูเปนตุมแตกหนอบริเวณก่ิง

    ดานขาง ตนเพศเมียแตกหนอบริเวณก่ิงสั้นๆหรือก่ิงยาว วงกลีบรวมรูปไขกลับ (กันยา, 2553)

    แหลงอาศัย เปลือกไม

    สภาพท่ีข้ึน ท่ีรม

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ ลานหินปุม และลานหินแตก

    หมายเลขตัวอยาง Inpia37, 47, 76 และ 77

    ภาพท่ี 36

  • 62

    ภาพ 36 Lopholejeunea (Spruce) Schiffn. (Lejeuneaceae)

    ก) แหลงอาศัย ข) การเรียงตัวของใบดานขาง ค) ตนแกมีโทไฟต ง) ใบดานขาง จ) ใบดานลาง ฉ)

    เซลลใบดานขาง และ ช) เซลลใบดานลาง ภาพจากตัวอยาง Inpia37

    สัญลักษณ = 1 มิลลิเมตร = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ง จ

    ฉ ช

  • 63

    Mastigolejeunea (Shruce) Schiffn. sp.1

    ใบคอนขางเล็ก มีสีเขียวมันวาว ลําตนแตกก่ิงเหนือขอ ไมสมมาตร ใบ ซอนเหลื่อมกัน ขอบ

    ใบเรียบ ปลายใบแหลม หรือปานมน เซลลยาว กวาง trigonesรูปหัวใจ หยดน้ํามันใหญ เซลลมี

    ลักษณะคลายกลุมองุน ลอบบูลมักจะมี 2 – 3 ซ่ี หรือบางครั้งไมมี ใบดานลาง กลม ไมมีแฉก มีขอบ

    ใบเรียบ ปลายใบเวา โครงสรางสืบพันธุเพศผูบนแขนงก่ิงยอด แตขนาดใบ และใบดานลาง เล็ก ตลอด

    แขนง เพอริแอนธมี 3 – 10 สัน ลักษณะเรียบ

    แหลงอาศัย: บนหิน เปลือกไม บนดิน และตนไม

    สภาพท่ีข้ึน: ชุมชื้น มีฝน

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล : 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ: โรงเรียนการเมืองการทหาร และกังหันน้ํา

    หมายเลขตัวอยาง: Thianpom 9, 13, 14, 27, 31, 35, 36, 38, 39, 42,

    44, 45, 47, 48, 49, 50, 52, 53, 54, 55, 56, 57, 65,

    75, และ 76

    ภาพ: 37

    เอกสารอางอิง: (กันยา, 2553)

  • 64

    ภาพ 37 Mastigolejeunea (Shruce) Schiffn. sp.1 (Lejeuneaceae)

    ก) แหลงอาศัย ข) การเรียงตัวของใบ และเพอริแอนธ ค) ใบดานลาง ง) ใบดานขาง จ) เซลลใบ

    ดานขาง ฉ) เซลลใบดานลาง ภาพจากตัวอยาง Thianpom53

    สัญลักษณ = 0.5มิลลิเมตร = 0.1มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ก ข ค

    ง ฉ จ

  • 65

    Mastigolejeunea (Spruce) Schiffn. sp.2

    ลําตนคอนขางเล็ก สีเขียวมันวาว ลําตนแตกก่ิงเหนือขอ ไมสมมาตร ใบดานขางซอนเหลื่อม

    กัน ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลม หรือปานมน เซลลยาวและกวาง หยดน้ํามันใหญ เซลลมีลักษณะ

    คลายกลุมองุน ลอบบูลมักจะมี 2–3 ซ่ี หรือบางครั้งไมมี ใบดานลางกลมไมมีแฉกขอบใบเรียบ ปลาย

    ใบเวาแตขนาดใบและใบดานลางเล็กตลอดแขนง ตนเพศผูออกบนยอดก่ิงวงกลีบรวมมี 3–10 สัน

    ลักษณะเรยีบ (กันยา, 2553)

    แหลงอาศัย เปลือกไม

    สภาพท่ีข้ึน ท่ีรม

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ ลานหินปุม และผาชูธง

    หมายเลขตัวอยาง Inpia17, 18, 21, 23, 25, 27, 48 และ 59

    ภาพ 38

    เอกสารอางอิง: (กันยา, 2553 )

  • 66

    ภาพ 38 Mastigolejeunea (Spruce) Schiffn. sp.2 (Lejeuneaceae)

    ก) ตนแกมีโทไฟต ข) การเรียงตัวของใบ ค) ใบดานขาง ง) ใบดานลาง จ) เซลลใบดานขาง และ ฉ)

    เซลลใบดานลาง ภาพจากตัวอยาง Inpia17

    สัญลักษณ = 1 มิลลิเมตร = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ค ง

    จ ฉ

    c

  • 67

    Ptychanthus striatus (Lehm. & Lindenb.) Nees

    ลําตนมีขนาดใหญ แตกก่ิงแบบขนนกหรือแบบขนนก 2 ชั้น แตกก่ิงบริเวณปลายยอด

    เชนเดียวกับ Frullania ขอบใบหยักแบบซ่ีฟน ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม เซลลใบมีผนังหนา มี

    หยดน้ํามันขนาดใหญ ใบดานลางกลมถึงรูปไขกลับ ปลายใบหยักแบบซ่ีฟน ตนเพศผูแตกหนอปลายก่ิง

    ดานขาง ตนเพศเมียแตกหนอบริเวณก่ิงหลักหรือก่ิงรอง วงกลีบรวมรูปไขกลับ อับสปอรยาว กานชูอับ

    สปอรสั้น

    แหลงอาศัย เปลือกไม

    สภาพท่ีข้ึน ท่ีรม

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ ลานหินปุม

    หมายเลขตัวอยาง Inpia40

    ภาพ 39

    เอกสารอางอิง: (กันยา, 2553)

  • 68

    ภาพ 39 Ptychanthus striatus (Lehm. & Lindenb.) Nees (Lejeuneaceae)

    ก) แหลงอาศัย ข) ตนสปอโรไฟต ค) ใบดานขาง ง) ใบดานลาง จ) อับสปอรฉ) เซลลใบดานขาง และ

    ช) เซลลใบดานลาง ภาพจากตัวอยาง Inpia40

    สัญลักษณ = 1 มิลลิเมตร = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ค ง จ

    ฉ ช

  • 69

    Spruceanthus Verd.

    ใบขนาดกลางถึงใหญ ลําตน แตกก่ิงเหนือขอ ไมสมมาตร ใบ แตะกันซอนเหลื่อมกัน ขอบใบ

    หยักซ่ีฟนเกือบเรียบ แหลม ปลายใบไมคอยมนปาน เซลลผนังหนา trigones ใหญ หยดน้ํามันมีมาก

    ลอบบูล มี 1 – 3 ซ่ี โครงสรางสืบพันธุเพศผูมักพบบนยอดดานขางก่ิง โครงสรางสืบพันธุเพศเมียมักมี

    1 – 2 ของตน เพอริแอนธมี 1 – 2 ซ่ี สันเรียบ

    แหลงอาศัย: บนหิน เปลือกไม บนดิน และตนไม

    สภาพท่ีข้ึน: ชุมชื้น มีฝน

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล : 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ: โรงเรียนการเมืองการทหาร และกังหันน้ํา

    หมายเลขตัวอยาง: Thianpom 5, 6, 12, 17, 18, 21, 23, 25, 51, 62,

    67, 69, และ 71

    ภาพ: 40

    เอกสารอางอิง: (กันยา, 2553)

  • 70

    ภาพ 40 Spruceanthus Verd. (Lejeuneaceae)

    ก) ลําตน ข) การเรียงตัวของใบ ค) ใบดานขาง ง) ใบดานลาง จ) เซลลใบดานลาง ฉ) เซลลใบดานขาง

    ภาพจากตัวอยาง Thianpom25

    สัญลักษณ = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ฉ จ

    ข ก

  • 71

    9. LEPIDOZIACEAE

    พืชขนาดเล็กท่ีแข็งแรง สีเขียวออน สีเขียวเขมถึงสีน้ําตาล ลําตนทอดนอนหรือตั้งตรงกับ

    แหลงอาศัย ไรซอยดกระจัดกระจายบนฐานใบดานลาง ใบดานขางออกแบบสลับ เรียงตัวแบบใบบน

    ทับใบลาง ปลายใบมีพู 3-4 พู ขอบใบเรียบหรือหยัก เซลลใบผนังหนาหรือบาง ไมมีลอบบูล ใบ

    ดานลางคอนขางใหญ ขอบใบดานลางเรียบหรือหยัก

    Bazzania appendiculata (Mitt.) S. Hatt.

    พืชขนาดเล็กถึงปานกลาง สีเขียวเหลืองถึงเขียวมะกอก หรือสีน้ําตาล เจริญทอดนอนกับ

    แหลงอาศัย ลําตนแตกก่ิง 2 แฉก พบเสนใยขนาดยาวบริเวณทองใบของลําตน ใบดานขางเรียงตัว

    แบบใบบนทับใบลาง ใบแผออกกวางไมสมมาตรกัน ออกแบบสลับถึงตรงกันขาม มีรูปราง

    เปลี่ยนแปลง ปลายใบแบงออกเปน 2-3 ซ่ีฟน ไมคอยโคงมน ขอบใบเรียบถึงหยักถ่ี เซลลมักเปน

    สี่เหลี่ยมหรือหกเหลี่ยม ใบดานลางคอนขางใหญ ขอบใบดานลางเรียบ ชั้นคิวตินเรียบหรือมีปุมยื่น

    ออกมา มีหยดน้ํามันขนาดใหญ (กันยา, 2553)

    แหลงอาศัย บนหิน และเปลือกไม

    สภาพท่ีข้ึน รมเงา

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ ลานหินปุม และผาชูธง

    หมายเลขตัวอยาง Thianpom1, Inpia1, 2, 3, 4, 5, 6, D.7, 9, 10, 13,

    14, 16, 28, 29, 32, 33, 35, 36, 39, 49, 50, 53, 55,

    58, 60 และ 66

    ภาพ 41

    เอกสารอางอิง: (กันยา, 2553)

  • 72

    ภาพ 41 Bazzania appendiculata (Mitt.) S. Hatt. (Lepidoziaceae)

    ก) ตนแกมีโทไฟต ข) การเรียงตัวของใบดานขาง ค) ใบดานขาง ง) ใบดานลาง จ) เซลลใบดานขาง

    และ ฉ) เซลลใบดานลาง ภาพจากตัวอยาง Inpia32

    สัญลักษณ = 1 มิลลิเมตร = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ฉ จ ง

    ค ข ก

    v

  • 73

    Bazzania Gray sp.1

    ใบขนาดเล็กถึงปานกลาง มีสีเขียวออกเหลือง เขียวมะกอก หรือน้ําตาล ทอดนอน ลําตนแตก

    ก่ิงแบบสองแฉก (dichotomous) มักจะพบลักษณะคลายเฟล็กเจลลาบนทองใบดานขางของลําตน

    ใบ มีการเรียงตัวแบบ อินคิวบัส เรียงซอนเหลื่อมกัน แตกแบบตรงขาม หรือสลับ ไมสมมาตร รูปไข

    สี่เหลี่ยมผืนผา ฐานใบเปนรูปหัวใจ (cordate) หรือ ติ่ง (auricular) ปลายใบตัด หรือละเอียด แบง

    ออกเปน 2 – 3 ซ่ี ใหญ ไมคอยโคงมน ขอบใบเรียบ (entire) หยักซ่ีฟนถ่ี (denticulate) ไมคอย

    ละเอียด เซลลมักจะเปนสี่เหลี่ยม หรือหกเหลี่ยม มี trigonse ขนาดเล็กถึงใหญ เรียบ หรือมีปุม พบ

    หยดน้ํามันขนาดใหญ ใบดานลาง ใหญ แนบชิดลําตน โครงสรางสืบพันธุเพศผูเล็ก แทรกอยูบริเวณใบ

    เพอริแอนธรูปกระสวย (fusiform)

    แหลงอาศัย: บนหิน และตนไม

    สภาพท่ีข้ึน: ชุมชื้น มีฝน

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล : 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ: โรงเรียนการเมืองการทหาร และกังหันน้ํา

    หมายเลขตัวอยาง: Thianpom15, 24, 37, 58, และ 73

    ภาพ: 42 – 43

    เอกสารอางอิง: (กันยา, 2553)

  • 74

    ภาพ 42 Bazzania Gray sp.1 (Lepidoziaceae)

    ก) แหลงอาศัย ข) การแตกก่ิง ค) ใบดานขาง ง) ใบดานลาง จ) การเรียงตัวของใบ ฉ) เซลลใบดานลาง

    ช) เซลลใบดานขาง ภาพจากตัวอยาง Thianpom58

    สัญลักษณ = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ช ฉ

    จ ง ค

    ข ก

  • 75

    ภาพ 43 Bazzania Gray sp.2 (Lepidoziaceae)

    ก) แหลงอาศัย ข) ใบดานขาง ค) การแตกก่ิง ง) เซลลใบดานขาง จ) ใบดานลาง ฉ) เซลลปลายใบ

    ดานขาง ช) การเรียงตัวของใบ ภาพจากตัวอยาง Thianpom37

    สัญลักษณ = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    จ ช ฉ

    ง ค

    ข ก

  • 76

    10. MACHANTIACEAE

    ทัลลัสทอดนอนกับแหลงอาศัย มีขนาดปานกลางถึงขนาดใหญ แข็งแรงมีสีเขียวซีด มีการ

    เจริญออกเปน 2 แฉก พบเสนกลางใบบริเวณดานหลังของแผนทัลลัส ตนเพศผูและตนเพศเมียข้ึนบน

    แผนทัลลัสสปอโรไฟตหอยมีกลีบรวมรองรับ กานชูอับสปอรสั้น

    Dumortiera hirsuta (Sw.) Nees

    ทัลลัสมีสีเขียวเขม เสนกลางใบแคบ ผิวดานทองของทัลลัสไมมีรางแห ไมมี pore และชั้น

    epidermis บริเวณดานใตของแผนทัลลัสมีสีซีด ไรซอยดอยูบริเวณเสนกลางใบดานทองของทัลลัส

    ขอบทัลลัสแผออก พบชองอากาศและวงกลีบรวม (กันยา, 2553)

    แหลงอาศัย เปลือกไม

    สภาพท่ีข้ึน ชื้นแฉะ

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ ผาชูธง

    หมายเลขตัวอยาง Inpia62

    ภาพ 44

  • 77

    ภาพ 44 Dumortiera hirsuta (Sw.) Nees (Machantiaceae)

    ก) แหลงอาศัย ข) ตนแกมีโทไฟต ค) เซลลทัลลัส และ ง) ไรซอยด ภาพจากตัวอยาง Inpia62

    สัญลักษณ = 1 มิลลิเมตร = 0.5 มิลลิเมต = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ก ข

    ค ง

  • 78

    11. PLAGIOCILACEAE

    เปนพืชท่ีมีขนาดเล็กไปถึงใหญ สีเขียวซีดถึงเขียวมะกอก หรือบางครั้งเขียวออกน้ําตาล ลําตน

    เลื้อยกับพ้ืนหรือเกาะตามแหลงอาศัย แตกก่ิงท่ีปลายยอดหรือดานขาง ไรซอยดกระจัดกระจาย ใบ

    ดานขางเรียงตัวแบบใบบนทับใบลาง ออกสลับหรือตรงกันขาม เซลลใบมีขนาดใหญผนังเซลลบาง ใบ

    ดานลางมีขนาดเล็กมากบางครั้งลดรูปหรือไมมี ตนเพศผูแตกหนอปลายยอดก่ิงดานขางหรือตามลําตน

    ตนเพศเมียแตกหนอท่ีก่ิงดานขาง

    Plagiocila (Dumort.) Dumort. sp.1

    มีขนาดเล็กดูแข็งแรง แตกก่ิงแบบ 2 แฉก ลําตนเด่ียว ใบดานขางออกแบบสลับ รูปรางและ

    ขนาดแตกตางกัน ขอบใบเรียบไปถึงหยัก เซลลบริเวณขอบใบยาวและคอนขางหนา กลางใบและฐาน

    ใบเซลลคอนขางบาง ไมพบใบดานลาง

    แหลงอาศัย เปลือกไม

    สภาพท่ีข้ึน รมเงา

    ความสูงจากระดับน้ําทะเล 1,300 เมตร

    สถานท่ีเก็บ ผาชูธง

    หมายเลขตัวอยาง Thianpom3

    ภาพ 45

    เอกสารอางอิง : (กันยา, 2553)

  • 79

    ภาพ 45 Plagiocila (Dumort.) Dumort. sp.1 (Plagiochilaceae)

    ก) ตนแกมีโทไฟต ข) ใบดานขาง ค) เซลลขอบใบดานขาง และ ง) เซลลใบดานขาง ภาพจากตัวอยาง

    Thianpom3

    สัญลักษณ = 1 มิลลิเมตร = 0.5 มิลลิเมตร = 0.1 มิลลิเมตร = 0.01 มิลลิเมตร

    ก ข

    ค ง

  • 80

    Plagiochila (Dumort.) Dumort. sp.2

    ใบขนาดเล็กดูแ ข็งแรง ลํ าตน เดี่ ยว �